บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน(1)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างหน้าจอการทำรายการผ่านตู้ ATM
Advertisements

สะสมทรัพย์ 15 ปี ชำระเบี้ย ประกันภัย 7 ปี (มีเงินปันผล)
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
การปรับปรุงหนี้เงินยืมทดรอง
มูลค่าของเงินตามเวลา
การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ
การประเมินราคาตราสารหนี้
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
Advance Excel.
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
Revision Problems.
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel

บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การเปลี่ยนแปลงทางบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
งบลงทุน Capital Budgeting
Financial Management.
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
มูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
มูลค่าเงินตามเวลา ( TIME VALUE OF MONEY )
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
Operators ตัวดำเนินการ
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
Option Risk Managemetn
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
ญาลดา พร ประเสริฐ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลา.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
1.
ทุนมรดก คุณลูกค้ารัก และห่วงกังวลใครมากที่สุด ในชีวิตค่ะ ? คุณลูกค้ารัก และห่วงกังวลใครมากที่สุด ในชีวิตค่ะ ? ถ้าจะให้หมดห่วง หมดกังวล คุณลูกค้า คิดว่าต้องเตรียมเงินเป็นมรดกไว้ให้ลูก.
วิชาการบัญชีตั๋วเงิน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับตั๋วเงิน
1. ธุรกิจบริการ สหกรณ์เป็นตัวกลางในการเก็บค่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งน้ำเพื่อ การเกษตรของโครงการสูบน้ำและ บำรุงรักษาสุโขทัย ( ชลประทาน ) ธุรกิจนี้สหกรณ์จะมีรายได้จากการ.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 เงินสดและการควบคุมเงินสด
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
มูลค่าของเงินตามเวลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน(1) หลักการเงิน (00920208) บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน(1)

แนวคิดสำหรับการคำนวณ มูลค่ากระแสเงินสด กระแสเงินสดที่เกิดขี้นในเวลาต่างๆ กันย่อมมีมูลค่าที่ต่างกัน กระแสเงินสดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตมีความไม่แน่นอน

การพิจารณาค่าของเงินตามระยะเวลา การคำนวณมูลค่าทบต้น (compounding) หรือ มูลค่าในอนาคต การคำนวณหามูลค่าในอนาคตของกระแสเงินสดที่มีอยู่ในปัจจุบัน 1. กระแสเงินสดที่มีปัจจุบันมีเพียงจำนวนเดียว 2. กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นหลายงวด งวดละเท่าๆกัน (annuity) 3. กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นหลายงวด งวดละไม่เท่ากัน

การพิจารณาค่าของเงินตามระยะเวลา การคำนวณค่าปัจจุบัน (discounting) การคำนวณมูลค่าของกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตกลับมาเป็นค่าปัจจุบัน 1. กระแสเงินสดในอนาคตเกิดขึ้นเพียงงวดเดียว 2. กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นหลายงวด งวดละเท่าๆกัน (annuity) 3. การแสเงินสดเกิดขึ้นหลายงวด งวดละไม่เท่ากัน

การคำนวณมูลค่าในอนาคต ปัจจุบัน (PV) อนาคต (FV) ………..…… CF0 CF1 CF2 CFn 1 2 n i% ………………. มูลค่าทบต้นในอนาคต ณ ปีที่ n (FVn) หรือ Terminal value (TVn)

การคำนวณมูลค่าปัจจุบัน ………..…… CF0 CF1 CF2 CFn 1 2 n i% ………………. ปัจจุบัน (PV) อนาคต (FV) มูลค่าปัจจุบัน (PV)

สูตรการคำนวณมูลค่าในอนาคต FVn = PV (1 + i)n [FVn = PV(FVIFi,n)] FVn - มูลค่าในอนาคต (หรือมูลค่าทบต้น) ณ ปีที่ n PV - มูลค่าปัจจุบัน (หรือจำนวนเงินต้น) i - อัตราดอกเบี้ยต่อปี n - ระยะเวลา

ตัวอย่างการคำนวณ FVn ถ้าหากท่านนำเงิน 100,000 บาทไปฝากธนาคารโดยได้อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี เมื่อเวลาผ่านไป 3 ปี จะได้รับเงินรวมทั้งสิ้นเท่าไหร่ FVn = PV(1 + i)n FV3 = 100,000(1 + 0.10)3 = 100,000(1.331) = 133,100 บาท

พิสูจน์สูตรการคำนวณมูลค่าในอนาคต 1 2 3 PV = เงินต้น = 100 INT = ดอกเบี้ยรับ 10 FVn = จำนวนเงินทบต้น 100 + 10 110 11 110 + 11 121 12.1 121 + 12.1 133.1 PV + INT FV1 + FV1(i) FV2 + FV2(i) PV + PV(i) FV1 (1 + i) FV2 (1 + i) PV + (1 + i) PV(1 + i)(1 + i) PV(1 + i)2(1 + i) FVn = PV(1 + i)n

สูตรการคำนวณมูลค่าปัจจุบัน PV = FVn /(1 + i)n [PV = FVn (PVIFi,n)] PV - มูลค่าปัจจุบัน (หรือจำนวนเงินต้น) FVn - มูลค่าในอนาคต (หรือมูลค่าทบต้น) ณ ปีที่ n i - อัตราดอกเบี้ยต่อปี n - ระยะเวลา

ตัวอย่างการคำนวณ PV เงินจำนวน 133,100 ที่จะได้รับในอนาคตอีก 3 ปีข้างหน้า จะมีมูลค่าเท่าไหร่ในปัจจุบันหาคิดอัตราส่วนลด 10% ต่อปี PV = FVn /(1 + i)n PV = 133,100/(1 + 0.10)3 = 133,100/(1.331) = 100,000 บาท