Systems Analysis and Design

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
Information systems; Organizations; Management; Strategy
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การเขียนผังงาน.
Object-Oriented Analysis and Design
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Object-Oriented Analysis and Design
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Object-Oriented Analysis and Design
การจำลองความคิด
Decision Tree Analysis
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
การบริหารโครงการ (Project anagement)
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
Flow Chart INT1103 Computer Programming
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
Data Modeling Chapter 6.
System Analysis and Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบสารสนเทศ
Week 5 : การบริหารโครงการ
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Chapter 04 Flowchart ผู้สอน อ.ยืนยง กันทะเนตร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
แบบจำลองกระบวนการ (Process Modeling)
Modeling and Activity Diagram
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
Database Management System
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 5 แบบจำลองกระบวนการ
BC423 Systems Analysis and Design
Information System Development
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
Chapter 6 Information System Development
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
DFD Data Flow Diagram Terminator Process Process Store Store
ขั้นตอน ที่ 2 การวิเคราะห์ระบบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Systems Analysis and Design Context Diagram and Data Flow Diagram

วัตถุประสงค์ อธิบายแนวคิดของ data modeling และ process modeling รวมทั้ง tools ที่เกี่ยวข้อง อธิบายวิธีวิเคราะห์แบบโครงสร้าง(structured analysis) ที่ใช้อธิบายระบบสารสนเทศ อธิบายสัญลักษณ์ของ data flow diagram (DFDs) และกฎในการวาด DFDs

วัตถุประสงค์ อธิบายลำดับของ DFDs จากทั่วๆไป จนถีง เฉพาะเจาะจงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อธิบายวิธีการแตกระดับ(level)และความสมดุลของ(balance) DFDs วาด DFDs สำหรับ ระบบสารสนเทศ

Introduction Systems analysis phase ประกอบด้วย 3 stages การกำหนดความต้องการของระบบ(Requirements determination) การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ(Requirements analysis) การประเมินผลทางเลือกสำหรับระบบ(Evaluation of alternatives)

Data Flow Diagrams (DFDs) DFDs จะใช้อธิบายถึงการไหลเวียนของข้อมูลและ process ที่เกี่ยวข้องในระบบสารสนเทศ DFDs จะแสดงลักษณะของระบบสารสนเทศในรูปแบบ logical model ซึ่งจะแสดงว่ามีprocess อะไรที่อยู่ในระบบแต่จะไม่แสดงว่า process นั้นๆมีการทำงานอย่างไร (บอก what แต่ไม่บอก how)

Data Flow Diagrams สัญลักษณ์ของ DFDs มีอยู่ 4 รูป คือ Process Data flow Data store External entity มีสองรูปแบบของสัญลักษณ์ DFDs ที่ได้รับความนิยม Gane and Sarson Yourdon

สัญลักษณ์ของ DFDs Diagrams

Data Flow Diagrams Process symbol แทนด้วย สี่เหลี่ยมมุมมน หรือ วงกลม ใน DFDs จะไม่แสดงรายละเอียดการทำงานภายในของ process การแสดงรายละเอียดการทำงานของแต่ละ process จะอธิบายในส่วนของ process descriptions ผลลัพธ์ที่ออกมาจาก process จะต้องมีความแตกต่างของข้อมูลที่รับเข้ามาใน process เดียวกัน จะรับข้อมูล(input)และส่งผลลัพธ์(output)ของข้อมูลดังกล่าวที่ผ่านการ process ผลลัพธ์ที่ออกมาจาก process จะต้องมีความแตกต่างของข้อมูลที่รับเข้ามาใน process เดียวกัน

Data Flow Diagrams Data flow symbol แสดงด้วยเส้นลูกศรและกำกับด้วยชื่อของข้อมูล แต่ละเส้นอาจแสดงข้อมูลได้มากกว่า 1 item แต่ละ process ต้องมี 1 data flow เข้า และ 1 data flow ออก (เป็นอย่างน้อย) customer order

ลักษณะของ Data Flow Symbol ที่ถูกต้อง

ลักษณะของ Data Flow Symbol ที่ไม่ถูกต้อง

Data Flow Diagrams Data store symbol แสดงด้วยสี่เหลี่ยมที่เปิดหนึ่งด้าน หรือ เส้นขนาน อาจเรียกได้ว่าเป็น data repository แสดงการเก็บข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลในภายหลัง ต้องมีการเชื่อมต่อกับ process อย่างน้อยต้องมี 1 data flow เข้า และ 1 data flow ออก employee employee

ลักษณะของ Data Store Symbol ที่ถูกต้อง

ลักษณะของ Data Store Symbol ที่ไม่ถูกต้อง

Data Flow Diagrams External entity symbol(หน่วยภายนอก) แสดงด้วยสี่เหลี่ยมจตุรัส แสดงถึงคน หน่วยงาน องค์กร หรือ บริษัท ที่เกี่ยวข้องกับระบบ โดยไม่ต้องการแสดงรายละเอียดของหน่วยภายนอกนี้ในขณะที่ใช้ DFDs อธิบายระบบดังกล่าว บางครั้งอาจจะเรียกเป็น terminators หรือ source หรือ sink

ลักษณะของ External symbol ที่ถูกต้อง

ลักษณะของ External symbol ที่ไม่ถูกต้อง

Data Flow Diagrams Context diagrams แผนภาพระดับแรกของ DFDs แสดงภาพรวมของระบบ โดยแสดงหน่วยภายนอกที่เกี่ยวข้อง จะประกอบด้วย 1 process เท่านั้น และ process ดังกล่าวนี้จะมีชื่อเป็นชื่อของระบบและมีหมายเลขประจำ process เป็นหมายเลข 0 context diagram จะมีเพียงสามสัญลักษณ์ คือ external, process (1 process) และ data flow (จะไม่เขียน data store ในระดับนี้)

ตัวอย่างของ Context Diagram

ตัวอย่างของ context diagram

ข้อตกลงในการวาด DFDs แต่ละ context diagram จะต้องอยู่ภายในหนึ่งหน้ากระดาษ ชื่อของ process ใน context diagram จะเป็นชื่อของระบบงาน ใช้ชื่อ processที่ไม่ซ้ำกัน ไม่เขียนเส้นตัดกัน ใช้ชื่อย่อได้ ทุกprocess ต้องมีหมายเลขสำหรับอ้างอิง

Diagram 0 แสดงรายละเอียดของระบบมากกว่า context diagram แสดง process หลักของระบบ, data flows, external และ data stores

Diagram 0

Diagram 0 เป็นส่วนที่แสดงรายละเอียดต่อจาก context diagram (exploded หรือ partitioned or decomposed) บางครั้งอาจจะเรียกว่า overview หรือ level 0 diagram

Diagram 0

Data Flow Diagrams Diagram ระดับล่าง ใช้แสดงรายละเอียดที่มากขึ้น และไม่สะดวกที่จะแสดงในระดับบน การแตกระดับ (level หรือ explode) ต้องพิจารณาในเรื่องต่อไปนี้ Leveling Balancing Data stores

Leveling or Exploding

Balancing

Data Stores

Data Flow Diagrams แนวทางในการสร้าง DFDs DFDs ต้องช่วยให้เข้าใจระบบ แต่ละภาพควรมีไม่เกิน 9 process (ไม่ได้เป็นกฎตายตัว แต่ถ้ามี process มากเกินไปอาจทำให้อ่านลำบาก ถ้ามี process มากเกินไปในหนึ่งภาพ ควรทำ leveling หรือ exploding โดยยุบ process ย่อยๆ ลงไปอีกระดับ

Data Dictionary บางครั้งเรียกว่า data repository ใช้อธิบายข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ Data flows Data stores External entities Processes Data elements (data items, fields) Records (data structures)

Data Dictionary

Process Description Tools ใช้อธิบายการทำงานของแต่ละ process ใน DFDs โดยใช้ 3 logical structures ต่อไปนี้ Sequence Selection Iteration

Process Description Tools: Sequence

Process Description Tools: Selection

Process Description Tools: Iteration

Process Description Tools ประโยชน์โครงสร้าง(Structured English) ใช้อธิบาย process โดยใช้โครงสร้าง sequence, selection, และ iteration

Process Description Tools: Structured English

Process Description Tools ตารางการตัดสินใจ(Decision tables) แสดง logical structure เพื่ออธิบาย process logic แสดงผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดในขั้นแรก จากนั้นทำการลดรูปเพื่อให้เหลือทางเลือกและผลลัพธ์ที่ไม่ซ้ำซ้อนกัน

Process Description Tools: Decision Table

Process Description Tools: Decision Table

Process Description Tools แผนภาพต้นไม้(Decision trees) Graphical representation that shows a decision table’s conditions, actions, and rules Logic structure is shown horizontally Easy to construct and understand Decision table is better in complex situations

Process Description Tools: Decision Table

Process Description Tools: Decision Trees

Logical Versus Physical Models Sequence of models A physical model shows how the systems’ requirements are implemented Create a physical model of the current system Develop a logical model of the current system After the current system is understood, create a logical model of the new system

Logical Versus Physical Models Four-model approach Four models Physical model of the current system Logical model of the current system Logical model of the new system Physical model of the new system

Logical Versus Physical Models Four-model approach Major benefit is having a better grasp of the current system functions before making any modifications Major disadvantage is added time and cost needed to develop a logical and physical model of the current system