สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย นางสาว สาน๊ะ โต๊ะหมะ รหัส 404652013 กลุ่มพื้นฐานที่ 12
โรคอุจจาระร่วง เชื้อไวรัสโรตา โรคอุจจาระร่วง ปัจจัยของเชื้อไวรัสโรตาที่ก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง stop
เชื้อไวรัสโรตา คืออะไร ไวรัสโรตา เป็นไวรัสชนิดหนึ่งที่เป็นสาเหตุของโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี
โรคอุจจาระร่วง คืออะไร โรคท้องร่วงหมายถึงการถ่ายอุจจาระเหลว ตั้งแต่ 3 ครั้งภายใน 1 วัน หรือถ่ายเป็นน้ำจำนวน มากหรือมูกเลือดแค่ครั้งเดียวใน 1 วัน ก็ถือว่า เป็นโรคท้องร่วงแล้ว ซึ่งหากไม่รีบรักษาแต่เนิ่นๆ ก็จะเกิดภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ อาการอาจ รุนแรงทำให้ช๊อกถึงตายได้
ปัจจัยของเชื้อไวรัสโรตาที่ก่อให้เกิด โรคอุจจาระร่วง . สาเหตุ . อาการ . การติดต่อ . การดูแลรักษาขั้นต้นที่บ้านเมื่อมีอาการ . การป้องกันและควบคุม . ลักษณะอาการทางคลีนิก . การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
ปัจจัยของเชื้อไวรัสโตราที่ก่อให้เกิด โรคอุจจาระร่วง . สาเหตุ ลักษณะและโครงสร้าง สมบัติทางกายภาพและเคมี การจำแนกเชื้อ การเพิ่มจำนวน พยาธิกำหนด
ปัจจัยของเชื้อไวรัสโตราที่ก่อให้เกิด โรคอุจจาระร่วง (ต่อ) . อาการ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ อุจจาระร่วงฉับพลัน อุจจาระร่วงเรื้อรัง โรคแทรกซ้อน
ปัจจัยของเชื้อไวรัสโตราที่ก่อให้เกิด โรคอุจจาระร่วง (ต่อ) . การติดต่อ ทางการสัมผัส ทางการกลืนลงสู่กระเพาะ ทางอื่น ๆ
ปัจจัยของเชื้อไวรัสโตราที่ก่อให้เกิด โรคอุจจาระร่วง (ต่อ) . การดูแลรักษาขั้นต้นที่บ้านเมื่อมีอาการ ดื่มสารละลายน้ำตาลเกลือแร่ เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ดื่ม 50 - 100 ซีซี เด็กอายุ 2 - 10 ปี ดื่ม 100 - 200 ซีซี ในเด็กที่ให้นมผสมควรให้ครึ่งหนึ่งน้ำตาลเกลือแร่อีกครึ่งหนึ่ง ให้อาหารเหลวภายใน 4 ชั่วโมง หลังดื่มเกลือแร่ เมื่ออาการดีขึ้นควรหยุดให้สารละลายน้ำตาลเกลือแร่
ปัจจัยของเชื้อไวรัสโตราที่ก่อให้เกิด โรคอุจจาระร่วง (ต่อ) . การป้องกันและควบคุม ดูแลเรื่องสุขภิบาลให้ดี รักษาความสะอาดในการประกอบอาหาร ขจัดแหล่งแพร่กระจายเชื้อ ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
ปัจจัยของเชื้อไวรัสโตราที่ก่อให้เกิด โรคอุจจาระร่วง (ต่อ) . ลักษณะอาการทางคลีนิก rotavirus ในเด็กมีระยะฟักตัว 24 - 48 ช.ม. rotavirus ในผู้ใหญ่มีระยะฟักตัว 2 - 4 วัน มีไข้ประมาณ 37.9 องศาเซลเซียส อาเจียน อุจจาระเป็นน้ำ
ปัจจัยของเชื้อไวรัสโตราที่ก่อให้เกิด โรคอุจจาระร่วง (ต่อ) . การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ การตรวจตัวอย่างโดยตรง การตรวจหาแอนติบอดี การแยกเชื้อไวรัส stop