อาจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. อารมณ์ที่เป็นไปในทาง ยินดี ๒. อารมณ์ที่เป็นไปในทางที่ ไม่ยินดี
1. ความสามารถในการ ร้องให้ 2. เริ่มมีจุดหมาย 3. เริ่มรู้จักแสดงความ ซับซ้อน 4. เรียนรู้การควบคุม 5. เรียนรู้การแยกแยะ พัฒนาการทาง อารมณ์
ตัวอย่าง “ นายพรศักดิ์คงต้อง F แน่ๆ เพราะ เขาไม่เคยเข้าเรียนเลย ” ผู้ที่ไม่เคยเข้าเรียนปรัชญาทุกคน เป็นผู้ที่ต้องได้ F ( ข้ออ้าง ) นายพรศักดิ์เป็นผู้ไม่เคยเข้าเรียน ปรัชญา ( ข้ออ้าง ) ดังนั้นนายพรศักดิ์ เป็นผู้ที่ต้องได้ F ( ข้อสรุป )
การอ้างเหตุผลที่ ผิดพลาด
๑. ถ้าฝนตก ดังนั้น ถนนเปียก เมื่อวานมีฝนตก ดังนั้นเมื่อวานถนน ต้องเปียก ๒. ถ้าฝนไม่ตก ดังนั้นถนนไม่เปียก เมื่อวานไม่มีฝน ตก ดังนั้นเมื่อวาน ถนนต้องไม่เปียก
๓. ถ้าฝนตก ดังนั้น ถนนเปียก เมื่อวานถนน เปียก ดังนั้นเมื่อวาน ต้องมีฝนตก ๔. ถ้าฝนตก ดังนั้น ถนนเปีย เมื่อวานถนนไม่ เปียก ดังนั้นเมื่อวานต้อง ไม่มีฝนตก
วิธีจัดการกับความโกรธ ๑. ระบายออก ๒. ควบคุมเอาไว้ - โดยการทำงาน - ความรัก - โดยการทำลายข้าวของ - มองโลกในแง่ดี - โดยการเล่นกีฬา - ใช้หลักปรัชญา การควบคุมอารมณ์ อย่างมีเหตุผล
( ๔ oo ปี ก่อน ค. ศ.) เล่าจื้อแห่งลัทธิเต๋า “ ทำร้ายคนอื่นเท่ากับ ทำร้ายตนเอง ”
( ๕๑๑ – ๔๗๙ ปีก่อน ค. ศ.) ขงจื้อ “ อย่าทำกับผู้อื่นซึ่งท่านไม่อยาก ให้ผู้อื่นทำกับท่าน ”
พระคริสต ธรรมคัมภีร์ “ ถ้าผู้ใดตบแก้ม ซ้ายของท่าน จงหันแก้มขวาให้ เขาตบ ” ( ๔ ปีก่อนค. ศ. - ค. ศ. ๓ o)
พุทธธรรม “ พึงชนะความ โกรธด้วยความไม่ โกรธ ความชั่วด้วย ความดี ความเห็น แก่ตัวด้วยการให้ และความเท็จด้วย ความจริง ” ( ๕๔๓ ปี ก่อน ค. ศ.)
รายชื่อผู้จัดทำ 1. นายปฐมพงษ์ ปะวะระ เลขที่ นายภราดร มีอนันต์ เลขที่
จบแล้วจ้า ขอบคุณ ครับ !!