5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศิลปหัตกรรมนักเรียน ปี2552 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครปฐมเขต 2
Advertisements

แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
ศาสนาขงจื้อ จริยธรรมทางสายกลาง.
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ความเชื่อในพระพุทธศาสนาในท้องถิ่นที่มีต่อสุขภาพกาย
พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (Humen Behavior and Self Development)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โครงงาน ศาสนพิธี.
ขอบเขตการศึกษาของญาณวิทยา (epistemology)
บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์
ญาณวิทยาของ อิมมานุเอล คานต์
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
วิธีการแสวงหาความรู้
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
สถาบันการศึกษา.
การจำลองความคิด
Knowledge Management (KM)
กระบวนการอริยสัจ 4 เพื่อการแก้ไขปัญหา
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
History มหาจุฬาฯ.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
พระวาจา ทรง ชีวิต กันยายน 2009.
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
แบบอย่างผู้นำ 4 ทิศ 4 ธาตุ
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
พระวาจา ทรง ชีวิต มิถุนายน 2013.
วันอาสาฬหบูชา.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
อินเตอร์เน็ตกับครูภาษาอังกฤษ บทสัมภาษณ์ครูสอนภาษาอังกฤษ จัดทำโดย
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
คัดย่อจากจากผลงานธรรมนิพนธ์เรื่องต่างๆ
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
การรับฟังพยานหลักฐาน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
บทอ่านจากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวโครินทร์ฉบับที่ 1
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
การรู้สัจธรรมของชีวิต
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การสร้างสรรค์บทละคร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
                                                                                       
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
จิตวิทยาเพื่อ ชีวิตและการ ทำงาน อาจารย์สุริยัน อ้นทองทิม.
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรม
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
ญาณวิทยา (Epistemology)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา บทที่ 5 ญาณวิทยา (Epistemology) 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

ประมวลญาณวิทยา วิธีการสอบสวนความรู้ในการแสวงหาความจริง มีทั้งหมด 5 วิธี ดังต่อไปนี้ 1. ผัสสะ (sensation) รู้โดยประสาทสัมผัส (senses) 2. ความเข้าใจ (understanding) รู้โดยการอนุมาน (inference) 3. อัชฌัตติกญาณ (intuition) รู้โดยสามัญสำนึก (common sense) เป็นญาณวิเศษที่ยังมีกิเลสอยู่ 4. ตรัสรู้ (enlightenment) รู้โดยญาณวิเศษแบบหมดกิเลส (transcendental intuition) 5. วิวรณ์ (revelation) รู้โดยการเปิดเผยจากสิ่งที่อยู่หนือ ธรรมชาติ (supernatural manifestation)

นักปรัชญาในกลุ่มเหตุผลนิยม เรอเน เดการ์ตส์ (Rene Decartes : 1596 – 1650) บารุค สปิโนซา (Baruch Spinoza : 1632 – 1677) คอทฟริด วินเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิช (Cottfried Wilhelm Von Leibniz : 1646 – 1716) 1 2

นักปรัชญาในกลุ่มประสบการณ์นิยม ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon : 1561 – 1626) โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes : 1588 – 1679) จอห์น ล็อค (John Locke : 1632 – 1704) เดวิด ฮิวม์ (David Hume : 1711 – 1776) 1 2 3 4

ฟรานซิส เบคอน พูดถึงเทวรูปคืออคติในใจมนุษย์ ว่ามีอยู่ 4 ประการ เทวรูปแห่งเผ่าพันธุ์ (Idol of the Tribe) หมายถึง กรรมพันธุ์ที่ได้รับจากการอบรมสั่งสอน เทวรูปแห่งถ้ำ (Idol of the Cave) หมายถึง ประสบการณ์ส่วนตัวของมนุษย์ในแต่ละคน เทวรูปแห่งตลาดนัด (Idol of the Market place) หมายถึง ความสับสนในการใช้ภาษาเป็นสิ่งที่น่ากลัวและอันตรายที่สุด เทวรูปแห่งโรงละคร (Idol of the Theater) หมายถึง ระเบียบประเพณี ปรัชญา ศาสนา

ฟรานซิส เบคอน พูดถึงเทวรูปคืออคติในใจมนุษย์ ว่ามีอยู่ 4 ประการ เบคอนเห็นว่า เทวรูปทั้ง 4 ที่มีอยู่ในใจมนุษย์นั้นจะต้องใช้ปัญญาในการทำหน้าที่กวาดล้างเทวรูปเหล่านี้ออกจากใจ เมื่อทำได้ มนุษย์จะเข้าถึงสัจธรรมอันถูกต้อง

เรอเน เดการ์ตส์ (Rene Decartes : 1596 – 1650) บิดาของปรัชญาสมัยใหม่ ผู้ถือว่า “มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด” (Innate Idea) ความรู้ในใจของมนุษย์นั้นก็เหมือนกับน้ำที่มีอยู่ในแผ่นดิน ถ้ารู้จักวิธีการขุดก็จะทำให้สามารถค้นพบน้ำคือความรู้ในจิตของมนุษย์ได้อย่างไม่ยาก

จอห์น ล็อค (John Locke : 1632 – 1704) จอห์น ล็อค เขาเห็นว่า ความรู้ทุกอย่างล้วนแต่เริ่มต้นจากประสบการณ์ทั้งนั้น (All knowledge comes from experience) นั่นคือ คนเราเกิดมามีจิตว่างเปล่าเหมือนกระดาษขาวที่ยังไม่มีตัวอักษรอะไรเขียนลงไปเลย

จอห์น ล็อค (John Locke : 1632 – 1704) เขาใช้คำในภาษาละตินว่า “ Tabula rasa ” ( Blank Tablet) ซึ่งเป็นกระดาษฉาบขี้ผึ้งเตรียมพร้อมที่จะเขียนหนังสือลงไปได้ตามความนิยมของชาวโรมันชั้นสูงสมัยโรมันเรืองอำนาจ จากแนวคิดนี้เองจึงทำให้ล็อคได้ชื่อว่าเป็นผู้ก่อตั้งลัทธิประสบการณ์นิยมของสมัยใหม่

เดวิด ฮิวม์ (David Hume : 1711 – 1776) เจ้าของแนวคิด กังขานิยมที่ผลักดันแนวความคิดแบบประสบการณ์นิยมจนถึงจุดสูงสุด เขาไม่เชื่อทุกสิ่งทุกอย่างจนกว่าจะได้พิสูจน์ด้วยตัวเองในแต่ละครั้ง

นักปรัชญาที่วิพากษ์และสรุปแนวคิดของ 2 กลุ่มที่ผ่านมา เอ็มมานูเอล ค้านท์ (Immanuel Kant : 1724 – 1804) ค้านท์ สรุปแนวความคิดว่าเป็นความเข้าใจผิดของฝ่ายประสบการณ์นิยมซึ่งถือว่า จิตไม่ใช่ตัวทำงานในกระบวนการความรู้ของมนุษย์ และก็เป็นความเข้าใจผิดของฝ่ายเหตุผลนิยมที่ไม่ให้ความสำคัญกับความรู้ทางผัสสะ

นักปรัชญาที่วิพากษ์และสรุปแนวคิดของ 2 กลุ่มที่ผ่านมา เขากล่าวว่า “ มโนภาพหากปราศจากการรับรู้ทางผัสสะแล้วก็เป็นสิ่งว่างเปล่า ส่วนการรับรู้ทางผัสสะหากปราศจาก มโนภาพก็กลายเป็นความมืดบอด ” “ Conception without perception is empty : Perception without conception is blind ” สำหรับค้านท์ ความรู้ จะต้องมาจากสิ่ง 2 ประเภทคือ 1. ความรู้ที่มีบ่อเกิดมาจากประสบการณ์ 2. ความรู้ที่มาจากความคิดของมนุษย์

ญาณวิทยาในพระพุทธศาสนา สุตมยปัญญา ปัญญาเกิดจากการฟัง การอ่าน จินตามยปัญญา ปัญญาเกิดจากการพิจารณา ภาวนามยปัญญา ปัญญาเกิดมาจากการฝึกฝนอบรมจิต ภาวนามยปัญญา แบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ 3.1 สมถภาวนา ปัญญาที่เกิดมาจากการฝึกจิตให้เกิดความสงบจนทำให้เกิด ญาณ ความรู้ต่าง ๆ เช่น ตาทิพย์ หูทิพย์ รู้ใจคนอื่น เป็นต้น 3.2 วิปัสสนาภาวนา ปัญญาที่เกิดมาจากการเจริญปัญญาจนทำลายกิเลสได้หมดสิ้น

เปรียบเทียบญาณวิทยาของพุทธศาสนากับญาณวิทยาในตะวันตก สุตมยปัญญา = ประสบการณ์นิยม จินตามยปัญญา = เหตุผลนิยม ภาวนามยปัญญา = อัชฌัตติกญาณ คือ สมถภาวนา ได้แก่ ความรู้ แจ้งอย่างฉับพลัน แต่ยังมีกิเลสอยู่ไม่ได้ถึงขั้นตรัสรู้คือการทำลายกิเลสแบบพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย