การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
ความหมายของเครือข่าย
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Research Mapping.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โครงสร้างองค์กรบริหารจัดการลุ่มน้ำ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
MIS: Pichai Takkabutr EAU นิยาม ความหมายการบริหาร การจัดการ การบริหาร การจัดการที่ดี (Good Governance) BACK การอยู่ร่วมกัน ต้องมีการจัดระเบียบและระบบสังคม(Code.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
ปัญหาของการจัดการน้ำคือ อะไร เพราะเหตุใด ประชาชนจะร่วมกันจัดการ น้ำได้อย่างไร ใครบ้างที่ควรเข้ามาร่วม คำถาม.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
3.การจัดทำงบประมาณ.
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
การบริหารราชการแผ่นดิน
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น ดร.วรวลัญช์ โรจนพล รองคณบดี รัฐศาสตร์ มสธ

ขอบเขต นิยาม ลักษณะชุมชนเข้มแข็ง รากฐานการพัฒนาและการแตกสลายของชุมชนดั้งเดิม : Why? การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็ง : How? โครงสร้าง (structure) VS ตัวแสดง (actors) ชุมชน สังคม ประเทศ

ขอบเขต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน รูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บทบาท หน้าที่ ชุมชน VS องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

นิยาม ชุมชน การรวมตัวของบุคคล กลุ่ม/องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน และประชาชนที่อาศัยอยู่ในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐานที่สุด คือหมู่บ้าน หรือชุมชนในรูปแบบอื่น ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหาเดียวกัน เช่น ชุมชนลุ่มน้ำ ชุมชนวัฒนธรรม เป็นต้น

นิยาม การบริหาร กระบวนการในการกำหนดแนวความคิดและการวางแผนงานอย่างเป็นระบบและครบวงจรในด้านต่างๆ การจัดการ กระบวนการและวิธีการในการทำงาน ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีศิลปะ เพื่อให้งานนั้นสำเร็จตามที่ผู้บริหารกำหนด

นิยาม ชุมชนเข้มแข็ง ชุมชนที่มีขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของตนเองได้ในระดับหนึ่ง ด้วยการมีผู้นำที่มีความสามารถ มีการเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง  บนพื้นฐานวัฒนธรรม ความเชื่อ คุณค่าดั้งเดิม ศาสนา และเศรษฐกิจชุมชนที่พึ่งพาเอื้อเฟื้อกันและกัน โดยแต่ละชุมชนได้ใช้ศักยภาพของตนเองเข้าคลี่คลายและจัดการปัญหาได้ด้วยตนเองภายใต้ความร่วมมือและสนับสนุนจากองค์กรภายนอก           

นิยาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบการปกครองที่อยู่บนพื้นฐานของหลักการกระจายอำนาจ ได้แก่ อบจ. อบต. เทศบาล

ลักษณะชุมชนเข้มแข็ง ช่วยตนเองได้ (self-help) พึ่งตนเองได้ (self-reliance) ชุมชนเข้มแข็ง แก้ปัญหา (problem solving) พัฒนา (development)

รากฐานการพัฒนาและการแตกสลายของชุมชนดั้งเดิม : Why? เศรษฐกิจ การเมือง โลกาภิวัตน์ ชุมชน

รากฐานการพัฒนาและการแตกสลายของชุมชนดั้งเดิม : Why? เศรษฐกิจ การเมือง สังคม

การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็ง : How? คิด (think) ปฏิบัติ (practice) ไว้เนื้อเชื่อใจ ศรัทธา จิตวิญญาณ การส่วนร่วม ธรรมมาภิบาล กระบวนการเรียนรู้ ล่างสู่บน (bottom-up)

การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็ง : How? transparency accountability rule of law Good Governance efficiency& effectiveness participation

โครงสร้าง (structure) VS ตัวแสดง (actors) กฎหมาย โครงสร้าง นโยบาย ปัจเจกบุคคล ตัวแสดง กลุ่ม/เครือข่าย หน่วยงานราชการ

ชุมชน สังคม ประเทศ ทุนทางสังคม (social capital) วัฒนธรรมการเมือง (political culture) ประชาสังคม (civil society)

Pragmatic Orientation บทบาทรัฐ Social empowerment Bottom-up -express -actual decision-making Pragmatic Orientation share a common desire practice goals Deliberation -learning process -knowledge based society

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบจ. อบต. เทศบาล รูปแบบพิเศษ พัทยา กรุงเทพมหานคร

การบริหารราชการแผ่นดิน ส่วนกลาง รวมอำนาจ (centralization) ภูมิภาค แบ่งอำนาจ (deconcentralization) ท้องถิ่น กระจายอำนาจ (decentralization)

รูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการ นายกมาจากสภา นายกมาจากการเลือกตั้งโดยตรง ผู้จัดการเมือง

ชุมชน VS องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ขอบคุณค่ะ