ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
แนวทางการจัดสรรงบประมาณการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2555
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
Happy Newyear 2009 สวัสดีปีใหม่ 2552 แด่...ทุกท่าน
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555

1.โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพปี2555 วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของอสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน

1. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงาน หมู่บ้านจัดการสุขภาพปี2555 ขั้นตอนการดำเนินงาน ๑ การดำเนินการประเมินผลทุกหมู่บ้าน โดยการใช้เวทีชุมชน ในการวิเคราะห์สภาพปัญหาและหาส่วนขาดของหมู่บ้านเพื่อวางแผนการพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ พร้อมทั้งให้ผู้นำชุมชนและท้องถิ่นรับทราบ ในเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2555 ๒ ทีมงานหมู่บ้านร่วมกันพัฒนาส่วนขาดของหมู่บ้าน

1. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงาน หมู่บ้านจัดการสุขภาพปี2555 ๓ การประเมินผลหมู่บ้านอีกครั้งในเดือนมิถุนายน โดย บันทึกข้อมูลลงใน www.thaiphc.net ๔ หมู่บ้านที่อยู่ในพื้นที่ตำบลจัดการสุขภาพ ปี ๒๕๕๕ ต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๖๐ ของหมู่บ้านทั้งหมดในตำบลจัดการสุขภาพ

1.โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี2555 สิ่งสนับสนุน แบบประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ

2.โครงการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการจัดการสุขภาพชุมชนในระดับตำบล ระดับจังหวัด วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างกลไกความร่วมมือแบบบูรณาการในการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพสู่ระบบสุขภาพชุมชน เพื่อให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ่งดีๆในการพัฒนาและต่อยอดความสำเร็จของการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

2.โครงการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการจัดการสุขภาพชุมชนในระดับตำบล ระดับจังหวัด ขั้นตอนการดำเนินงาน สร้างความเข้าเข้าใจร่วมกัน พัฒนาศักยภาพเครือข่ายระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล เน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันหรือกระบวนการอื่นๆ ติดตามประเมินผล 1แบบประเมินตนเอง 2.แบบประเมินตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีไทย

2.โครงการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการจัดการสุขภาพชุมชนในระดับตำบล ระดับจังหวัด เป้าหมาย อำเภอละ 1 ตำบล รวม ภาคกลาง 209 แห่ง สิ่งสนับสนุน -งบประมาณ ระดับจังหวัด จังหวัดละ 10,000 บาท -งบประมาณระดับอำเภอ อำเภอละ 5,000 บาท -งบประมาณตำบลจัดการ พื้นที่ 10,000 บาท

ตารางการจัดสรรงบประมาณ

ตารางการจัดสรรงบประมาณ (๒)

3.การดำเนินงานฟื้นฟูสุขภาพชุมชนและจัดการสิ่งแวดล้อมภายหลังน้ำลด 1. การอบรม อสม.หลักสูตรการจัดการสุขภาพในภาวะวิกฤต อย่างน้อยหมู่บ้านละ ๑ คน สามารถ ดาวน์โหลดหลักสูตรได้ที่ เว็บไซด์ www.thaiphc.net พร้อมแบบทดสอบความรู้ 2. การสนับสนุน อสม.ในการออกปฏิบัติงานให้บริการดูแลสุขภาพของประชาชนทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต สิ่งแวดล้อม และอื่นๆที่เกี่ยวข้องเช่น - การจัดกิจกรรมฟื้นฟูเยียวยา /การจัดเวทีประชาคม / การรณรงค์ฟื้นฟูสุขภาพชุมชน สิ่งแวดล้อม การเยี่ยมบ้านผู้ได้รับผลกระทบ1.

3.การดำเนินงานฟื้นฟูสุขภาพชุมชนและจัดการสิ่งแวดล้อมภายหลังน้ำลด 3.การพัฒนาตำบลต้นแบบการจัดการสุขภาพชุมชนในภาวะวิกฤต ดำเนินการ จังหวัดละ 5 ตำบล ได้รับงบประมาณสนับสนุน ตำบลละ 30,000 บาท โดยมีกิจกรรมที่ดำเนินการดังนี้ - การคัดเลือกพื้นทีเลือกพื้นที่ตามความเหมาะสม - การพัฒนาและเตรียมทีมเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมภัยพิบัติในชุมชน - การวิเคราะห์สถานการณ์ความเสี่ยงของพื้นที่ที่จะเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติ / คาดการณ์เช่น น้ำท่วม ดินถล่ม ภัยธรรมชาติต่างๆ เป็นต้น แบบประเมิน

งบประมาณโครงการภาวะวิกฤติ

โครงการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น และประเมินอสม โครงการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น และประเมินอสม.ดีเยี่ยม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเพื่อคัดเลือกผลงานและประกาศเกียรติคุณของอสม.ให้ปรากฏเป็นแบบอย่างที่ดีแก่อสม.อื่นๆ 2.เพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจแก่ อสม.ในการพัฒนางานสุขภาพภาคประชาชน 3.เพื่อส่งเสริมบทบาทและความสามารถของอสม.ให้เป็นผู้นำด้านสุขภาพ

โครงการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น และประเมินอสม โครงการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น และประเมินอสม.ดีเยี่ยม สิ่งสนับสนุน งบประมาณ *การคัดเลือกอสม. จังหวัดละ 10,000 บาท *การรณรงค์วันอสม.จังหวัดละ 10,000 บาท รวมจังหวัดละ 20,000 บาท

โครงการสนับสนุนชุดอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานของอสม. เป้าหมาย หมู่บ้านละ 2 ชุด งบประมาณ ชุดละ 900 บาท (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

ขอบคุณค่ะ 