Practical Epidemiology น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล Slide 3,4,8-16 จาก ศ. นพ.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล
Epidemiology Distribution Time Place Person Determinants หาความสัมพันธ์ (Relation) แบ่งเป็น Causal Relationship Non Causal Relationship
Study design Prospective Study Cross sectional Study การศึกษาเริ่มจาก ปัจจัย Disease. หา RR หรือ Relative Risk ได้ Cross sectional Study Retrospective Study. การศึกษาเริ่มจาก Disease ปัจจัย หา Relative Risk ไม่ได้ หาได้เพียง Estimator ของ RR คือ OR หรือ Odd ratio.
Prospective Study Disease Not Disease รวม Factor a b a+b No Factor c d b+d RR = incidence ที่มี Factor / Incidence ที่ไม่มี Factor RR = a/(a+b) หารด้วย c/c+d RR = a (c+d) ถ้า Rare Disease lim a,c0 = ad/bc หรือคือ OR c (a+b)
Examples Case Control study เรื่อง Ca Lung กับการสูบบุหรี่ LR ทำการศึกษา Fetal Blood group กับ LBW WBC ศึกษากลุ่มที่ LBW และกลุ่มปรกติ กับพัฒนาการเมื่ออายุ 1 ปี
1. การเลือกหัวข้อการวิจัย การตั้งคำถามการวิจัย ขั้นตอนในการทำวิจัย 1. การเลือกหัวข้อการวิจัย การตั้งคำถามการวิจัย 2. การทบทวนวรรณกรรม 3. การกำหนดวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิด 4. เลือกรูปแบบการวิจัยให้เข้ากับวัตถุประสงค์ 5. การกำหนดประชากรและการเลือกตัวอย่าง 10
6. การเก็บและรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนในการทำวิจัย 6. การเก็บและรวบรวมข้อมูล 7. การบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูล 8. การนำเสนอ และ อภิปรายผล 9. การเขียนรายงานและส่งตีพิมพ์ 10. การวางแผน ควบคุม และบริหารงานวิจัย 11
หัวข้อวิจัย คำถามการวิจัย RESEARCH TOPIC RESEARCH QUESTION (S) general, subjective กว้างๆ , นามธรรม การกินปลาดีต่อสุขภาพหรือไม่ คำถามการวิจัย RESEARCH QUESTION (S) concrete, objective ชัดเจน, รูปธรรม การกินปลาลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจหรือไม่
Distribution: Normal Distribution. 1.00001,1.00002,1.00003 ,…. Binomial Distribution. 0,1 Poison Distribution. 1,2,3,4,5 …….
การคำนวณหา Sample Size ต้อง Review Literature ให้ทราบ Incidence หรือ Prevalence RR หรือ OR คำนวณโดยใช้โปรแกรม Epi Info PS
ข้อควรระวัง เมื่อหาความสัมพันธ์แล้วเกิด Significant ซึ่งอาจเกิดจาก Bias Sampling ใช้วิธีการ Random ด้วยวิธีใด Sample size By chance ดูระดับ Confidence interval Confounding Awareness ใช้ Covariate ช่วย
By Chance Normal Disease Cut off Point Type 1 Error Type 2 Error (False Positive) Type 2 Error (False Negative) Cut off Point
Confounding Factors Frame ที่ทำการศึกษา 3.มีความสัมพันธ์ MI เสา TV 2.ไปมีความสัมพันธ์กับตัวแปรที่ทำการศึกษา Civilization 1.ตัวแปรที่อยู่นอกกรอบการศึกษา และเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
Confounding Factors Frame ที่ทำการศึกษา Ca Lung Alcohol Smoking
การหา Determinants ใช้ OR ,RR แล้วหาค่า 95% Confidence interval 95% CI ที่ผ่าน 1 ไม่ Significant 95% CI ที่ไม่ผ่าน 1 Significant ใช้โปรแกรมสถิติ เช่น SPSS Parametric เช่น T Test , Anova Non Parametric เช่น Chi Square
Screening Test Disease Not Disease รวม Screen +ve a b a+b Screen - ve c+d a+c b+d False + ve = b/(a+b) False –ve = c/(c+d) Sensitivity = a/(a+c) Specificity = d /(b+d) Predictive value of Positive test = a/(a+b)
Screening Test Disease Not Disease รวม Screen +ve 20 80 100 5 120 125 25 200 False + ve = b/(a+b) =80% False –ve = c/(c+d) =5/125=4% Sensitivity = 20/25=80% Specificity = 120 /200 = 60% Predictive value of Positive test = 20/100 = 20%
Type of Data ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ Nominal Sex ชาย /หญิง Status โสด /หม้าย/หย่า/แยก Non Parametric Ordinal Degree of Malnutrition Likert scale ความพึงพอใจ ควรใช้ Non Parametric อนุโลมใช้ parametric บางกรณี Interval หรือ Scale ระยะทาง เป็นเมตร น้ำหนักเป็น กิโลกรัม Parametric
สรุป การเลือกใช้สถิติ