บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Advertisements

2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ME-RMUTI Sarthit Toolthaisong
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วัสดุในการก่อสร้าง: ส่วนที่ 2/2
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
Chapter 8 Continuous Beams
Chapter 10 Reinforced Beams
Chapter 7 Restrained Beams
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
Object-Oriented Analysis and Design
Electric force and Electric field
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
งานและพลังงาน (Work and Energy).
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
Soil Mechanics Laboratory
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
Equilibrium of a Particle
Structural Analysis (2)
การออกแบบ Cellular Beams
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
(Internal energy of system)
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
Systems of Forces and Moments
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
Week 6 : การบริหารโครงการ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
จงคำนวณหา y-coordinate ของจุด Centroid ของพื้นที่ดังรูป
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ปฏิบัติการเรื่องการลดขนาด
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
การวนทำซ้ำ do การทำงานที่ต้องการวนซ้ำ until ( เงื่อนไขที่ใช้วน ) while ( เงื่อนไขที่ใช้วน ) การทำงานที่ต้องการวนซ้ำ endwhile.
Chapter Objectives Chapter Outline
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force) 7.1 แรงภายในโครงสร้าง ภายในโครงสร้างหนึ่งๆ เราจำเป็นต้องหาแรงภายในที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้าง เพื่อนำไปใช้หาขนาดหน้าตัดต่อไป ตัวอย่างโครงสร้างคาน แรงภายในโครงสร้างคาน : V (shear force, แรงเฉือน) M (Bending moment, โมเนนต์ดัด) N (Normal force, แรงตามแนวแกน)

ตัวอย่างโครงสร้างชิ้นส่วนที่รับแรงตามแนวแกน ขั้นตอนการหาแรงภายในโครงสร้าง เขียน FBD ของโครงสร้าง และใช้สมการสมดุลหาแรงปฎิกิริยา ทำการตัดชิ้นส่วน ณ ตำแหน่งที่เราต้อง การหาแรงภายใน 3. ใช้สมการความสมดุลหาแรงภายใน แรงภายในโครงสร้าง : N (Normal force, แรงตามแนวแกน)

7.2 สมการและแผนภาพของแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด (Shear and Moment Equations and Diagrams) เราสามารถหาแรงเฉือนและโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นภายในตัวคานและตำแหน่งที่เกิด ซึ่งทำ ได้โดยใช้สมการและแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด P w M B A x1 x2 x3 x4

จุดที่ต้องพิจารณาในการแสดงแรงเฉือน และโมเมนต์ดัด 1) ปลายคาน 2) จุดรองรับ 3) จุดที่แรงเป็นจุด (concentrated point) กระทำ 4) จุดที่ couple moment กระทำ 5) จุดเริ่มต้นของ น้ำหนักแผ่กระจาย (distributed load) 6) จุดสิ้นสุดของ น้ำหนักแผ่กระจาย (distributed load) 7) จุดที่น้ำหนักแผ่กระจาย เปลี่ยนแปลงค่า สัญลักษณ์ M M V V V M M V Positive shear Positive moment

Ex 1. Draw the shear and moment diagrams for the beam 5 kN 2 m B A Ex 2. Draw the shear and moment diagrams for the beam 2 kN/m A B 5 m 3 m

7.3 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงแผ่กระจาย แรงเฉือน และโมเมนต์ดัด สูตรจาก รศ.ดร.สิทธิชัย แสงอาทิตย์

สูตรจาก รศ.ดร.สิทธิชัย แสงอาทิตย์

สรุปความสัมพันธ์ระหว่างแรงแผ่กระจาย แรงเฉือน และโมเมนต์ดัด slope ของ shear diagram ที่จุดใดๆ มีค่า = ค่าลบของแรง w ที่จุดนั้น slope ของ moment diagram ที่จุดใดๆ มีค่า = ค่าของแรงเฉือนที่จุดนั้น การเปลี่ยนแปลงของแรงเฉือนระหว่างจุดมีค่า = ค่าลบของพื้นที่ภายใต้แรง w ระหว่างจุดดังกล่าว การเปลี่ยนแปลงของโมเมนต์ระหว่างจุดมีค่า = พื้นที่ภายใต้ shear diagram ระหว่างจุดดังกล่าว เมื่อแรงกระทำเป็นจุดมีทิศทางพุ่งลง แล้ว shear diagram จะมีค่าลดลง = ค่าแรงดังกล่าว เมื่อโมเมนต์แรงคู่ควบมีทิศทางตามเข็มนาฬิกาแล้ว moment diagram จะมีค่าเพิ่มขึ้น = ค่าโมเมนต์แรงคู่ควบ

Ex 3. Draw the shear and moment diagrams for the beam 2 kN 3 kN 2 kN B A 2 m 2 m 2 m 2 m Ex 4. Draw the shear and moment diagrams for the beam 2 kN/m A 5 m

Ex 5. Draw the shear and moment diagrams for the beam 8 kN 15 kN/m 20 kN-m A B 2 m 1 m 2 m 3 m