สัปปุริสธรรม 7 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
ภูมิปัญญาไทย.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
หลักธรรมเพื่อชีวิตและสังคม
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
เทคนิคการทำงานกับชาวบ้าน : ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ควรแก่การแสวงหา
กระบวนการอริยสัจ 4 เพื่อการแก้ไขปัญหา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
Alternative Strategies
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
ผลแห่งกรรม บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
อิทธิบาท ๔ บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน บ้านโนนชัย ถนนราษฎร์คนึง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 34
รูปแบบแผนชุมชน.
Howard Gardner “Five minds for the Future”
Self Esteem ดร. กรรณิกา คำดี.
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
หลักสำคัญ 5 ประการ 1.ความรู้สึกปลอดภัย 2.ความรู้สึกสงบ 3.การตระหนักรู้ถึงศักยภาพ 4.การประสานรวมพลังของชุมชน 5.การมีความหวัง.
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
พฤติกรรม / การกระทำที่ สะท้อนความมีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดร. สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก. พ. สำนักงาน ก. พ.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
หลักสูตรศิลปะการพูดในการนำเสนอ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
จัดทำโดย นายธนวัฒน์ ทองหวี
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
กิจกรรมละลายพฤติกรรม
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
อริยสัจ 4.
เทคนิคการให้คำปรึกษา
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
กิจกรรม อชท. 1/2554 ระหว่างวันที่ สิงหาคม และ 1 กันยายน พ. ศ.2554 จัดทำโดย นักศึกษาแผนกช่าง กลโรงงาน ห้อง พิเศษเทคนิคการผลิต 401 ( พผ.401)
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
วิธีเป็นพยาน ดร. ริค กริฟฟิธ, Singapore Bible College
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัปปุริสธรรม 7 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

สัปปุริสธรรม 7 สัปปุริสธรรม 7 คือ หลักธรรมของคนดีหรือหลักธรรมของ สัปปุริสธรรม 7 สัปปุริสธรรม 7 คือ หลักธรรมของคนดีหรือหลักธรรมของ สัตตบุรุษ 7 ประการ ได้แก่ รู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักประมาณ รู้จักกาล รู้จักปฏิบัติ และรู้จักบุคคล 1. รู้จักเหตุหรือธัมมัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ รู้จักวิเคราะห์หาสาเหตุของสิ่งต่างๆ

สัปปุริสธรรม 7 2. รู้จักผลหรืออัตถัญญุตา สัปปุริสธรรม 7 2. รู้จักผลหรืออัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำ 3. รู้จักตนหรืออัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน ทั้งในด้านความรู้ คุณธรรม และความสามารถ

สัปปุริสธรรม 7 4. รู้จักประมาณหรือมัตตัญญุตา สัปปุริสธรรม 7 4. รู้จักประมาณหรือมัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ รู้จักหลักของความพอดี การดำเนินชีวิตพอเหมาะพอควร 5. รู้จักกาลเวลาหรือกาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จัก กาลเวลา รู้จักเวลาไหน ควรทำอะไร แล้วปฏิบัติให้ เหมาะสมกับเวลานั้น ๆ

สัปปุริสธรรม 7 6. รู้จักปฏิบัติหรือปริสัญญุตา หมายถึง ความเป็นผู้รู้จักปฏิบัติ การปรับตน และแก้ไขตนให้เหมาะสมกับสภาพของกลุ่มและชุมชน 7. รู้จักบุคคลหรือบุคคลัญญุตา หมายถึง ความเป็นผู้รู้จักปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับบุคคล ซึ่งมีความแตกต่างกัน การที่บุคคลใดนำเอาหลักสัปปุริสธรรม 7 มาใช้ในการดำเนินชีวิตจะช่วยให้ชีวิตพบกับความสุขในชีวิตได้