C# Programming Exceed Camp: Day 3.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Computer Language.
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
Department of Computer Business
Control Statement for while do-while.
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
Lecture no. 5 Control Statements
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
โครงสร้างภาษาซี.
05_3_Constructor.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
ฟังก์ชั่น function.
ครั้งที่ 7 Composition.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
C Programming Lecture no. 6: Function.
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
Javascripts.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Lecture 9 Class (คลาส) To do: Hand back assignments
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
โปรแกรมยูทิลิตี้.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
Selection Nattapong Songneam.
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Object-Oriented Programming
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
โครงสร้าง ภาษาซี.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
TECH30201 Object-Oriented Programming
Object-Oriented Programming
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
คำสั่งในการ ทำงานเบื้องต้น ของโปรแกรม. คำสั่งประกาศตัวแปร ชนิดของข้อมูล ชื่อตัวแปรที่ 1, ชื่อตัวแปรที่ 2; ตัวอย่าง Double score, total;
ใบสำเนางานนำเสนอ:

C# Programming Exceed Camp: Day 3

เนื้อหา รูปแบบคำสั่งพื้นฐาน โครงสร้างของโปรแกรม C# Classes and Objects Conditional statements Loops Arrays

C# Syntax ตัวอักษรตัวเล็กและตัวใหญ่มีความแตกต่างกัน picturebox ≠ PictureBox จบคำสั่งด้วยเซมิโคลอน (;) กำหนดบล็อกของโปรแกรมด้วยวงเล็บปีกกา ({ }) ข้อความที่อยู่ระหว่าง /* */ และที่ตามหลัง // ถือเป็นคอมเมนต์

โครงสร้างโปรแกรม C# จุดเริ่มต้นโปรแกรม using System; namespace MyApplication { : public class Form1:System.Windows.Forms.Form private System.Windows.Forms.Button button1; private System.Windows.Forms.Label label1; static void Main() Application.Run(new Form1()); } private void button2_Click(object sender, System.EventArgs e) /* Say Hello */ label1.Text = “Hello World”; จุดเริ่มต้นโปรแกรม

การใช้ตัวแปร รูปแบบการประกาศ: รูปแบบการให้ค่า: ตัวอย่าง: <type> <name>; รูปแบบการให้ค่า: <name> = <expression>; ตัวอย่าง: int radius; double area; radius = 3+4*5;

ชนิดตัวแปรพื้นฐาน ชนิดตัวแปร ขนาด คำอธิบาย ขอบเขต bool 1 ไบต์ เก็บค่าความจริง true / false char เก็บตัวอักษร 1 ตัว acsii0 ถึง ascii255 byte เก็บค่าตัวเลขจำนวนเต็มบวก 0 ถึง 255 short 2 ไบต์ เก็บค่าตัวเลขจำนวนเต็ม -32,768 ถึง 32,767 int 4 ไบต์ ประมาณ -2.1 x 106 ถึง 2.1 x 106 long 8 ไบต์ ประมาณ -9.2 x 1018 ถึง 9.2 x 1018 double 16 ไบต์ เก็บค่าตัวเลขจำนวนจริง ประมาณ ± 5.0x10-324 ถึง ± 1.7x10308 String ไม่จำกัด เก็บข้อมูลสายอักษร ไม่มีขอบเขต

Class, Object และคำสั่ง new Member variable คือตัวแปรที่กำหนดคุณสมบัติของวัตถุในคลาส เช่น สี, พันธุ์ ใช้คำสั่ง new เพื่อสร้าง Object จากคลาส Button btnOk = new Button(); โปรแกรม C# ต้องประกอบด้วยคลาสอย่างน้อยหนึ่งคลาส Object ด่าง สี = ดำ, พันธุ์ = พุดเดิ้ล Class สุนัข คุณสมบัติ: สี, พันธุ์ Object โฮ่ง สี = น้ำตาล, พันธุ์ = เกรย์ฮาวด์

Member Variable/Function เรียกใช้ได้ภายใน Object เดียวกัน Member variable แบบ public ถูกเรียกใช้จาก Object ใดก็ได้ Member function (method) คือฟังก์ชันที่ประกาศในคลาส ภายใน Object เดียวกัน method สามารถอ้างถึง member variable และเรียกใช้งาน method อื่นได้ทุกตัว Method แบบ public สามารถถูกเรียกใช้จาก Object อื่นได้

การเรียกใช้ Member Function/Variable ภายใน Object เดียวกัน ระหว่าง Object ต้องอ้างถึงชื่อ Object นั้น ตามด้วยจุด (.) name = “George Lucas”; method2(); anotherObj.name = “George Lucas”; anotherObj.method2();

ตัวอย่าง Member variables local variables Method public class Dog { Color color; string breed; void bark(int volume) int age; Console.WriteLine(breed); bool isOk; } void fight(Dog anotherDog) : Member variables local variables Method

if...else Statement รูปแบบคำสั่ง: ตัวอย่าง if (<boolean expression>) { statement1; : } else statement2; if (a == b) { label1.Text = “Right!”; } else label1.Text = “Wrong!”;

Loops while loop do...while loop for loop while (<boolean exp>) { : } do { : } while (<boolean exp>); for (<init>; <condition>; <increment>) { : }

Loops in Pascal, C and C# C/C# Pascal while do...while for while (a<10) { : } while a<10 do begin end; do...while do { } while (a<10); repeat until (a>=10); for for (i=0; i<10; i++) { for i:=0 to 10 do

อาร์เรย์ (Array) อาร์เรย์หนึ่งมิติ อาร์เรย์หลายมิติ string[] weekDays; weekDays = new string[] {"Sun","Sat","Mon","Tue","Wed","Thu","Fri"}; int[,] myArray; // 2-dimension myArray = new int[,] {{1,2}, {3,4}, {5,6}, {7,8}};

ใช้อ้างถึงสมาชิกในอาร์เรย์ตั้งแต่ต้นจนจบ รูปแบบ: ตัวอย่าง: foreach Statement ใช้อ้างถึงสมาชิกในอาร์เรย์ตั้งแต่ต้นจนจบ รูปแบบ: ตัวอย่าง: foreach (<type> <var> in <array>) { } int[] a = new int[] {1,2,3,4,5}; int sum = 0; foreach (int i in a) { sum = sum + i; }