ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System) 5 มาตรฐานการเชื่อมต่อ
หัวข้อ (Topic) มาตรฐาน RS-232C มาตรฐาน RS-449
มาตรฐาน RS232 มาตรฐาน RS 232 เป็นมาตรฐานการเชื่อมต่อข้อมูลแบบอนุกรมที่นิยมใช้มากที่สุด กำหนดโดย EIA (Electronics Industry Association) หรือสมาคมผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของอเมริกา ตั้งแต่ปี 1969 เริ่มต้นจากความต้องการที่จะกำหนดมาตรฐานการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับโมเด็มในสมัยนั้น
มาตรฐาน RS232 โดยที่ RS ย่อมาจาก Recommend Standard 232 เป็นหมายเลขบ่งบอกของมาตรฐาน C เป็นหมายเลขท้ายสุดของมาตรฐาน
มาตรฐาน RS232 จุดประสงค์ของมาตรฐานนี้คือเพื่อบรรยายคุณลักษณะของการเชื่อมต่อ อุปกรณ์รับส่งข้อมูลปลายทาง (Data Terminal Equipment: DTE) กับ อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล (Data Communication Equipment : DCE) ซึ่งจะขึ้นอยู่กับผู้ผลิต
มาตรฐาน RS232 Serial Transmission Standards RS-232 (Officially RS-232C) – DB-25, DB-9 Modem Cables DCE (Data Communications Equipment) DTE (Data Terminal Equipment)
มาตรฐาน RS232 อุปกรณ์รับส่งข้อมูลปลายทาง (Data Terminal Equipment: DTE) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบไปด้วยตัวส่งข้อมูล (data source) หรือ ตัวรับข้อมูล(data sink) หรือเป็นทั้งตัวส่งและตัวรับข้อมูลก็ได้ ประกอบด้วย function unit คือ control logic , bufferstore ,input/output device และ เครื่องคอมพิวเตอร์
มาตรฐาน RS232 อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล (Data Communication Equipment : DCE) DTE จะแทนแหล่งกำเนิดข้อมูลแหล่งแรก และ/หรือ อุปกรณ์ที่เป็นแหล่งรับข้อมูลแหล่งสุดท้าย อาทิ เครื่องพิมพ์ หรือ จอภาพ อุปกรณ์ที่รับข้อมูลได้เพียงอย่างเดียว จะเป็น DTE เพราะเป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลเป็นตัวสุดท้าย คีย์บอร์ดเป็นทั้งตัวรับและตัวกำเนิดข้อมูล ส่วน DCE เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้การสื่อสารข้อมูลระหว่างแหล่งกำเนิดกับตัวรับข้อมูลที่ปลายทาง ทำให้สะดวกขึ้น ตัวอย่างหนึ่งของ DCE ก็คือโมเด็ม
มาตรฐาน RS232
มาตรฐาน RS232
มาตรฐาน RS232
มาตรฐาน RS232
มาตรฐาน RS232
มาตรฐาน RS232 ปกติโมโครคอมพิวเตอร์จะมีพอร์ทอนุกรมที่เรียกว่า RS 232 อยู่ในตัว โดยพอร์ทนี้ทำหน้าที่รับและส่งข้อมูลในแบบอนุกรมเรียกว่า Universal Asynchronous Adapter
มาตรฐาน RS232
มาตรฐาน RS232 คำอธิบายการทำงานของแต่ละขาที่ใช้งาน Transmit Data (TD) เป็นสัญญาณที่ส่งออกจาก DTE (หรือตัวไมโครคอมพิวเตอร์พิวเตอร์) ไปยังโมเด็มหรือต่อกับไมโครคอมพิวเตอร์ตัวอื่น เมื่อไม่มีสัญญาณส่งออกสถานะภาพของลอกจิกที่ขานี้มีค่าเท่ากับ”1” หรือเที่ยบเท่า Stop Bit Received Data (RD) เป็นทางสัญญาณเข้าไปยัง DTE หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมื่อไม่มีสัญญาณ รับเข้ามา ขานี้จะมีสถานะภาพลอจิกเป็น “1”
มาตรฐาน RS232 คำอธิบายการทำงานของแต่ละขาที่ใช้งาน Request to Send (RTS) ใช้สำหรับส่งสัญญาณไปยังโมเด็มหรือเครื่องพิมพ์เป็นการเรียกร้องที่จะส่งสัญญาณมาทาง TD สัญญาณนี้จะใช้คู่กับ CTS ที่อุปกรณ์รับ หากได้รับ สัญญาณ RTS จะตรวจตัวเองว่าพร้อมจะรับสัญญาณได้หรือยัง หากพร้อมก็จะส่งสัญญาณออกไปที่สาย CTS Clear to Send (CTS) เมื่อสายสัญญาณนี้อยู่ในสภาวะออฟ (Negative Voltage หรือลอจิก”1”) หมายความว่า อุปกรณ์รับกำลังบอกว่า พร้อมจะรับข้อมูลแล้ว
มาตรฐาน RS232 คำอธิบายการทำงานของแต่ละขาที่ใช้งาน Data Set Ready (DSR) เมื่อสายสัญญาณนี้อยู่ไนสภาวะออน (ลอกจิก”0”) จะเป็นการบอกไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พร้อมที่จะส่งได้แล้ว Signal Ground (SG) ทำหน้าที่เป็นระดับแรงดันอ้างอิงสำหรับทุกๆสายสัญญาณจะมีแรงดันเป็น “0” เมื่อเทียบกับสายสัญญาณอื่นๆ Data Terminal Ready (DTR) คอมพิวเตอร์เปิดสัญญาณนี้ให้ออน(ลอจิก”0”) เมื่อพร้อมที่จะติดต่อรับส่งข้อมูล
มาตรฐาน RS449 ข้อจำกัดของ RS-232C คือ สามารถใช้ cable ได้ยาวที่สุดเพียงประมาณ 50 ฟุต( ตกประมาณ 16 ถึง 17 meters ) มาตรฐานใหม่เพื่อปรับปรุงแก้ไขประสิทธิภาพ INTERFACE RS-232C มาตรฐานใหม่นี้ก็คือ มาตรฐาน RS449/RS422 ทำงานที่ความเร็วสูงที่สุดถึง 10 Mbps และระยะทางไกลที่สุดประมาณ 1,200 เมตร
มาตรฐาน RS449 INTERFACE EIA RS-449 โดยใช้ Connector ชนิด d-type 37 pins ( DB-37 )
มาตรฐาน RS449