กลุ่มในองค์การ Group in Organization
ความหมาย กลุ่ม ( Group ) กลุ่มประกอบด้วยบุคคลสองคนหรือมากกว่า โดยบุคคลเหล่านั้นจะมีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน มีปฏิสัมพันธ์กัน และต้องพึ่งพาอาศัยกัน เพื่อให้การทำงานเป็นไปตาม เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ร่วมกัน group in org.
การเกิดของกลุ่ม 1. ทฤษฎีความใกล้ชิด ( Propinquity Theory ) เชื่อว่า คนมารวมกลุ่มเพราะ มีความรักชอบพอสนิทสนมกัน ( affiliation ) มีความใกล้ชิดกันทางกายภาพ group in org.
George Homans เชื่อว่าปัจจัยที่ทำให้คนมารวมกลุ่มคือ 2. ทฤษฎีของโฮแมนส George Homans เชื่อว่าปัจจัยที่ทำให้คนมารวมกลุ่มคือ มีกิจกรรม ( activities ) มีปฏิกิริยาตอบโต้กัน ( interaction ) มีความรู้สึกในใจร่วมกัน ( sentiments ) group in org.
3. ทฤษฎีสมดุล ( Balance Theory ) เชื่อว่าบุคคลมารวมกลุ่มกันเพราะ มีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน มีเจตคติที่คล้ายคลึงกัน มีความใกล้ชิดกัน group in org.
ประเภทของกลุ่ม ขนาดค่อนข้างเล็ก กลุ่มทุติยภูมิ ( secondary group ) 1. กลุ่มปฐมภูมิและกลุ่มทุติยภูมิ กลุ่มปฐมภูมิ ( primary group ) ขนาดค่อนข้างเล็ก ใช้การสื่อสารแบบเผชิญหน้า มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กลุ่มทุติยภูมิ ( secondary group ) ขนาดใหญ่ มีความเป็นกันเองน้อยกว่า การสื่อสารมักเป็นเรื่องของงาน group in org.
2. กลุ่มรูปนัยและกลุ่มอรูปนัย กลุ่มรูปนัย ( formal group ) มีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย มีการกำหนดตำแหน่งและภาระหน้าที่ กลุ่มอรูปนัย ( informal group ) สมาชิกอยู่ร่วมกันเพื่อตอบสนองความสนใจ เกิดขึ้นโดยสมัครใจ / เป็นธรรมชาติ group in org.
ลักษณะสำคัญของกลุ่มรูปนัยและกลุ่มอรูปนัย 1. วัตถุประสงค์หลัก . 2. ที่มา 3. อิทธิพลที่มีต่อสมาชิก 4. การติดต่อสื่อสาร . . …. 5. ผู้นำ 6. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ประสิทธิผล ,ประสิทธิภาพ การบริการ วางแผนโดยองค์การ อำนาจหน้าที่ตามตำแหน่ง รางวัลเป็นตัวเงิน จากระดับการบังคับบัญชาบนลงล่าง ใชช่องทางการสื่อสารเป็นทางการ แต่งตั้งโดยองค์การ เกิดจากงานหรือแบบแผนการไหลของงาน ความพึงพอใจของสมาชิก, ความปลอดภัยของสมาชิก เป็นไปโดยธรรมชาติ บุคลิกภาพ . แบบเถาองุ่น การสื่อสารใช้ทุกช่องทาง . เกิดขึ้นโดยกลุ่ม เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ………. group in org.
พัฒนาการของกลุ่ม ขั้นตอนที่ 1 การรวมตัว ขั้นตอนที่ 2 การระดมความคิด ขั้นตอนที่ 1 การรวมตัว ขั้นตอนที่ 2 การระดมความคิด ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดบรรทัดฐาน ขั้นตอนที่ 4 การดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 5 การสลายตัว group in org.
หน้าที่ของกลุ่ม 1. หน้าที่ที่เป็นทางการ 2. หน้าที่ทางจิตวิทยา ความมั่นคง ความเป็นพวกพ้อง การยกย่อง ความรู้สึกมีอำนาจ ทำให้เป้าหมายบรรลุผล 3. หน้าที่ผสม group in org.
โครงสร้างของกลุ่ม 1. สถานภาพ ( status ) ความมีอาวุโส ( seniority ) ทักษะ / ความเชี่ยวชาญ (skill / expert ) 2. บทบาท ( role ) การบรรยายลักษณะงาน ( job description ) กฎระเบียบขัอบังคับ ( regulations ) เกณฑ์ ( criteria ) group in org.
สรุปกระบวนการอิทธิพลของกลุ่ม 3. ปทัสถาน ( norm ) สรุปกระบวนการอิทธิพลของกลุ่ม ปรับใช้กับพฤติกรรมมากว่าความคิดเห็น ปรับใช้กับพฤติกรรมที่สมาชิกส่วนใหญ่เห็นว่า สำคัญ มีบางปทัสถานที่นำมาปรับใช้อย่างเท่าเทียมกัน ปทัสถานมีการพัฒนาอย่างช้า ๆ เป็นไปอย่าง ละเอียดอ่อน group in org.
พฤติกรรมภายในกลุ่ม 1. พฤติกรรมแบบมุ่งงาน 2. พฤติกรรมแบบมุ่งบำรุงรักษา 3. พฤติกรรมแบบมุ่งตนเอง group in org.
ปัจจัยที่กระทบพฤติกรรมกลุ่ม 1. บุคลิกลักษณะของบุคคล 2. ภาวะการเป็นผู้นำ 3. ขนาดของกลุ่ม 4. ความสามัคคีรวมกันของกลุ่ม 5. การตัดสินใจของกลุ่ม 6. ความล้มเหลวที่อาจเกิดขึ้นจากกลุ่ม 7. การปฏิบัติของนักบริหารต่อกลุ่ม group in org.
แรงยึดเหนี่ยวของกลุ่ม แรงยึดเหนี่ยวของกลุ่ม ( group cohesiveness ) เป็นระดับความจงรักภักดีและความผูกพันของสมาชิกที่มีต่อกลุ่ม / เป้าหมายกลุ่ม มีปัจจัยที่มีอิทธิพล 4 ประเภท คือ 1. ภัยคุกคามจากภายนอก 2. ประวัติความเป็นมาของกลุ่ม 3. เป้าหมายที่เกี่ยวข้องกัน 4. การบรรลุเป้าหมาย group in org.