พยาธิตัวกลม ( Roundworms)
พยาธิตัวกลม ( Roundworms) Phylum Nematoda Nematodes หรือ Round worms พยาธิตัวกลม ( Roundworms)
(General Characteristics of Nematodes) รูปร่างลักษณะ (General Characteristics of Nematodes) 1. รูปร่างทรงกระบอก หัวหางเรียว ขนาดตั้งแต่เล็ก ประมาณ 1 mm จนถึงใหญ่ ประมาณ 1 m 2. ลำตัวไม่มีปล้อง (unsegmented) 3. ผนังลำตัว (body wall) 3 ชั้น 4. มีช่องว่างในลำตัว (body cavity) 5. มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ 6. แยกเพศ
ลักษณะทั่วไป (General Morphology) ขนาด 1 mm – 1 m ผนังลำตัว 3 ชั้น 1. ผิวชั้นนอก (Cuticle) - ไม่มี nucleus - มีลักษณะลาย หรือ เรียบ หรือเป็นปุ่ม - ประกอบด้วย collagen , carbohydrate และ lipid - มีปุ่มรับสัมผัส (sensory papillae) บริเวณรอบ ปาก คอ และ หาง ลักษณะทั่วไป (General Morphology)
2. ชั้นกลาง (Epithelial layer) - ประกอบด้วย syncytium fiber - มี nucleus หลายอันปนกัน - มีส่วนที่ประกอบกันเป็นแท่ง (cord) 4 อัน ยื่นเข้าไปใน body cavity เรียก longitudinal line (เป็นลักษณะสำคัญอย่างหนึ่งของ nematode)
3. ชั้นในสุด (Dermo-muscular layer) - ประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียงตัวเป็น ชั้นเดียวไปตามยาว - แบ่งเป็น 4 กลุ่มโดย longitudinal line
ระบบทางเดินอาหาร (Alimentary system) - ทางเดินอาหารเป็นท่อตรงจาก ปาก anus - ปาก บางครั้งเรียกว่า buccal cavity มี lip หรือ teeth (cutting plate) รอบปาก - ส่วนประกอบของทางเดินอาหาร คือ ปาก esophagus intestine rectum anus - esophagus อาจมีลักษณะพิเศษ เรียก Stichosome ในบางพวก เช่น Trichinellidae
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive system) - แยกเพศ เพศผู้ ประกอบด้วย Testes Vas deferens Seminal vessicle Ejeculatory duct เปิดที่ Cloaca (บริเวณ subterminal ด้าน ventral)
- เพศเมีย ประกอบด้วย Ovary Oviduct Seminal receptacle Uterus Ovijector Vagina เปิด ที่ Vulva (บริเวณส่วน anterior ด้าน ventral) - พยาธิบางชนิดมีอวัยวะเพศ 2 ชุดในตัวเดียว กัน เช่น Ascaris (พยาธิไส้เดือน) Ancylostoma duodenale (พยาธิปากขอ)
ระบบประสาท (Nervous system) - Nerve trunk 6 เส้น - Nerve ที่สำคัญ คือ วงรอบ esophagus (circum – esophageal ring) ทำหน้าที่ เป็น nerve center คล้ายสมอง
ระบบขับถ่าย (Excretory system) - ประกอบด้วย collecting tubules ตามความ ยาวของตัว อยู่ทาง lateral ข้างละ 1 ท่อ - อาจมี gland cell 1 อัน - Excretory canal ไปเปิดที่ excretory pore บริเวณ midventral ด้าน anterior end
ไข่ (Egg) ส่วนมากมีเปลือก 3 ชั้น 1. ชั้นนอก (Albuminus coating) - อาจเรียบ หรือ ขรุขระ - ผิวหนา
2. ชั้นกลาง (True shell) - หนากว่าชั้นในมาก - เป็น Chitin 3. ชั้นใน (Vitelline membrane , Fertilization membrane) - เป็น membrane บางๆ - เป็น Lipoidal substance
- ออกลูกเป็นไข่ (มีทั้ง Unembryonated egg วงชีวิต (Life cycle) - ออกลูกเป็นไข่ (มีทั้ง Unembryonated egg และ Embryonated egg) - ออกลูกเป็นตัว (Larva) - บางชนิดต้องการ Intermediate host บาง ชนิดไม่ต้องการ
การติดต่อ (Mode of infection) โดยการกิน โดยการไชเข้าผิวหนัง - บางชนิดต้องมี Route of migration จึง จะโตเป็นตัวแก่ได้ เช่น มี lung migration
- สามารถแพร่กระจายจากโฮสต์ได้ หลายวิธี ได้แก่ พวกที่อยู่ในลำไส้ anus พวกที่อยู่ในปอด เสมหะ พวกที่อยู่ในไต ปัสสาวะ พวกที่อยู่ในเนื้อเยื่อ ผิวหนัง
แบ่งกลุ่มตามที่อยู่ของตัวพยาธิในโฮสต์ได เป็น 2 พวก คือ 1. พวกที่อาศัยอาศัยอยู่ในลำไส้ (Intestinal Nematodes) 2. พวกที่อาศัยอยู่ในระบบหมุนเวียน เลือดในระบบน้ำเหลืองหรือในเนื้อเยื่อ (Tissue-inhabiting Nematodes)
1. พวกอาศัยอยู่ในลำไส้ (Intestinal) Small intestine only - Ascaris lumbricoides (Common roundworm) - Ancylostoma duodenale (The old world hook worm) - Necator americanus (American hookworm) - Strongyloides stercoralis - Trichinella spiralis (Trichina worm) - Capillaria philippinensis
- Enterobius vermicularis (Threadworm or Pinworm) Caecum and Vermiform Appendix - Enterobius vermicularis (Threadworm or Pinworm) - Trichuris trichiura (Whipworm)
2. พวกอาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อหรือในอวัยวะอื่น ๆ นอกจากลำไส้ (Inside the tissues and organs) Lymphatic System - Wuchereria bancrofti - Brugia malayi Subcutaneous Tissues - Loa loa (African eye worm) - Onchocerca volvulus - Dracunculus medinensis (Guinea worm)
- Strongyloides stercoralis Mesentery - Dipetalonema perstans Lungs - Strongyloides stercoralis Mesentery - Dipetalonema perstans - Mansonella ozzardi Conjunctiva - Loa loa (K.D. Chatterjee, 1980 p. 159)
ศัพท์เทคนิคที่ใช้กับเรื่องพยาธิตัวกลม (Terms used in the description of nematodes) Cuticle เป็นส่วนผิวชั้นนอกสุด เป็นชนิด Non-cellular hyaline layer Papillae เป็นส่วนที่ยื่นจากผิวหนังขึ้นมา อาจอยู่ที่ Cervicle หรือ caudal ก็ได้ Buccal capsule ช่องปาก Hypodermis ชั้นของผิวหนังที่อยู่ระหว่างผิวชั้นนอก (Epidermis) และเซลล์ส่วนภายในของร่างกาย
Bacillary band เซลล์ที่เรียงเป็นแถวตามยาว พบใน พวก Trichinelloidea เป็น somatic muscle cell ซึ่ง muscle fiber จะทอด ไปตามยาวข้าง ๆ ของเซลล์มีบาง ส่วนตั้งได้ฉากกับ Hypodermis Plathymyarian เป็น Somatic cell ซึ่ง muscle fiber ตั้ง ได้ฉากกับ Hypodermis Meromyarian เป็นกลุ่มกล้ามเนื้อ ซึ่งมี cell 2-3 cell พบในพยาธิเข็มหมุดและพยาธิปากขอ
Amphid. เป็น sensory receptor อยู่ใกล้ anterior end Phasmid Amphid เป็น sensory receptor อยู่ใกล้ anterior end Phasmid เป็น sensory receptor อยู่ทาง posterior end Spicule เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ของพยาธิตัวผู้ มี ลักษณะเป็นแท่งยาว Copulatory bursa เป็นเยื่อบาง ๆ ของ cuticle ที่แผ่กาง เหมือนร่มอยู่ทาง posterior end ของ ตัวผู้ (ใช้ยึดพยาธิตัวเมียเวลาผสมพันธุ์) Gubernaculum ส่วนที่ยื่นจากผนังของ cloaca ใช้เป็นไกด์ นำ spicule ระหว่างผสมพันธุ์
Cloaca เป็นท่อเปิดของ Rectum และ Genital tract Stichosome เป็น glandular cells (Stichocytes) ซึ่งเรียงตัว เป็นแถวตามยาวของ oesophagus พบในพวก Trichinelloidea Pseudocoelom (Pseudocoel) เป็น Body cavity ภายในมี ของเหลวและอวัยวะภาย ในลอยอยู่
Esophagus (Pharynx) เป็นส่วนที่ต่อระหว่างปาก และลำไส้ Corpus ส่วนหน้าของหลอดอาหาร (oesophagus) ในพวก Rhabditi จะแบ่งเป็น procorpus และ metacorpus Isthmus ส่วนกลางของ oesophagus Bulb เป็นส่วนปลายของ oesophagus ที่โป่งออก Didelphic (Bicornate) มีอวัยวะสืบพันธุ์ 2 ชุด
Monodelphic. พยาธิตัวเมีย มีอวัยวะสืบพันธุ์ชุดเดียวViviparous Oviparous พวกที่ออกลูกเป็นไข่ Parthenogenesis คือการออกลูก โดยที่ไข่นั้นไม่ได้ผสม กับ sperm Autoinfection คือการติดพยาธิจากตัวเอง
Retroinfection เป็นชนิดหนึ่งของ Autoinfection คือเมื่อพยาธิฟักออกจากไข่ใกล้ Anus จะเดินทางกลับเข้าไปในลำไส ใหญ่อีก และเจริญเป็นตัวแก่ Rhabditiform larva เป็นตัวอ่อนของพยาธิ ซึ่งมี oesophagus สั้นและมีส่วนโป่ง ทาง posterior end Filariform larva เป็นตัวอ่อนที่มี oesophagus ยาว และไม่มีส่วนโป่งทาง posterior end
Paratenic เป็น transpot host ซึ่งพยาธิจะไม่ เจริญเติบโตแต่ยังมีชีวิตอยู่ได้ Periodicity เป็นเทอมที่ใช้ในโรคฟิลาเรีย หมายถึงเวลาที่สามารถพบหรือไม พบ microfilaria ในกระแสเลือดNocturnal periodicity เวลาที่พบ microfilaria ใน กระแสโลหิตในเวลากลางคืนDiurnal periodicity เวลาที่พบ microfilaria ใน กระแสโลหิตในเวลากลางคืนSubperiodicity พบ microfilaria ได้ตลอด 24 ชั่วโมง
เอกสารอ้างอิง จิตรา ไวคกุล และคณะ 2536 ปรสิตหนอนพยาธิ ภาควิชาปาราสิต หนอนพยาธิ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ หน้า 3-25 นิมิตร มรกต 2539 ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ โปรโตซัวและ หนอนพยาธิ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน้า 159 - 264 วิฑูรย์ ไวยนันท์ และพีรพรรณ ตันอารีย์ 2535 ปรสิตวิทยาทาง การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ หน้า 200 - 281
Ash,L.R. and Orihel, T.C. 1984. Atlas of Human Parasitology. 2nd edition American Society of Clinical Parthologists Press, Chicago. 212 pages. Beaver, P.C.; Jung, R.C. and Cupp, E.W. 1984. Clinical Para sitology. Lea & Febiger, Philadelphia. 406 - 412. Chatterjee, K.D. 1980. Parasitology Protozoology and Helminthology. Chatterjee Medical Publishers, calcutta. 159.