หนอนพยาธิ (Helminth).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ แมลงที่สำคัญทางการแพทย์
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
Phylum Nematoda สมมาตรแบบ Bilateral symmetry
“ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทำ ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญหรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น”
Group Acraniata (Protochordata)
Phylum Platyhelminthes
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
โครโมโซม.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
โพรโทซัว( Protozoa ).
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การจัดระบบในร่างกาย.
ใบ Leaf or Leaves.
อาณาจักร Protista -เป็น eukarytote กลุ่มแรกที่วิวัฒนาการมาจาก
โรคติดเชื้ออะมีบา บิดมีตัว พาหะ - แมลงวัน
พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke).
Other Protozoa.
หนอนพยาธิ (Helminth).
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคฝีดาษไก่ (Pox disease)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กีฎวิทยาและการควบคุม
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
= enzyme By . Kanyakon Sroymano The prince Royal’s college.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
กล้วย.
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
Pasture and Forage Crops Glossary
ระบบขับถ่าย กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หนอนพยาธิ (Helminth)

Introduction to the worms หนอนพยาธิ (Helminth) Introduction to the worms หนอนพยาธิ (The helminthic parasites) - เป็นพวกที่มีหลายเซลล์ (Multicellular) - มีลักษณะเป็น Bilaterally symmetrical animal - มี 3 germ layers

มีความสำคัญทางการแพทย์ เนื่องจากก่อโรค ในสัตว์และในคน แบ่งออกได้เป็น 3 พวก ใหญ่ๆ คือ 1. Phylum Platyhelminthes 1.1 Class Cestoidea (Tapeworms) 2.2 Class Trematoda (Flukes) 2. Phylum Nematoda (Round worms) 3. Phylum Acanthocephala

1. Phylum Platyhelminthes - รูปร่างแบน แบบ Dorso-ventrally - ลำตัวมีทั้งที่แบ่งเป็นปล้อง และ ไม่เป็นปล้อง - ไม่มีช่องว่างภายในลำตัว - ระบบทางเดินอาหารอาจมีหรือไม่มี

- มีระบบขับถ่าย - ระบบสืบพันธุ์ มีอวัยวะทั้ง 2 เพศ อยู่ใน ตัวเดียวกัน ( ยกเว้น พยาธิใบไม้เลือด ที่มีเพศแยกกัน) - พวกที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ได้แก่ 1.1 Class Trematoda (Flukes) - ได้แก่ พยาธิใบไม้ 1.2 Class Cestoidea (Tapeworms) - ได้แก่ พยาธิตัวตืด

1.1 Class Trematoda (Flukes) - พยาธิใบไม้ - ลักษณะแบนคล้ายใบไม้ - ลำตัวไม่เป็นปล้อง - ลำไส้มีลักษณะเป็นรูปตัว Y หัวกลับ โดยที่ส่วนปลาย ( Posterior) ทั้ง 2 ข้าง จะตัน

- มี 2 เพศ ในตัวเดียวกัน (ยกเว้น พยาธิ ใบไม้เลือด) - ระบบสืบพันธุ์ มีทั้ง Asexual และ Sexual Repro. Asexual Reproduction เพิ่มจำนวนตัวอ่อน Sexual Reproduction เพิ่มจำนวนโดยการออกไข่ - ติดต่อโดย การกินตัวอ่อน หรือ ตัวอ่อนไชเข้าผิวหนัง - ต้องการหอย ( snail , slug ) เป็น Intermediate host

1.2 Class Cestoidea (Tapeworms) - พยาธิตัวตืด - ลักษณะลำตัว เป็นปล้องแบนต่อ กันเป็นเส้น ประกอบด้วย ส่วนหัว เรียกว่า Scolex (เป็นอวัยวะที่ใช้เกาะ ติดในลำไส้) ส่วนคอ เรียกว่า Neck

ปล้องอ่อน = Immature Segment ปล้องแก่ = Mature Segment ส่วนลำตัว เรียกว่า Proglottids แยกเป็น ปล้องอ่อน = Immature Segment ปล้องแก่ = Mature Segment ปล้องสุก = Gravid Segment - อวัยวะสืบพันธุ์ มี 2 เพศ อยู่ในตัวเดียวกัน

2. Phylum Nematoda (Round worms) - ลักษณะ กลม-ยาว - ไม่มีปล้อง - มีช่องว่างในลำตัว (Body cavity) - ระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ สามารถใช้ในการแยกชนิดได้ ( ลักษณะปาก Esophagus Anus ใช้ใน การดูลักษณะของพยาธิแต่ละชนิดได้ )

- แยกเพศ เป็นตัวผู้ ตัวเมีย - การสืบพันธุ์ มีทั้ง ออกไข่ และออกลูก เป็นตัว - การติดต่อ เกิดได้หลายวิธี คือ : กินไข่พยาธิ : พยาธิตัวอ่อนไชเข้าทางผิวหนัง : แมลงพาหะกัด : กิน cyst ที่มีตัวอ่อนอยู่ภายใน

3. Phylum Acanthocephala - ลักษณะพิเศษ คือ ตัวจะประกอบด้วย Anterior proboscis มีปลอกหุ้ม และมีหนามและยืดหดได้ - มี 2 เพศ - ระยะตัวอ่อนฟักออกจากไข่ เมื่อแมลงที่ เป็นโฮสต์กินเข้าไป

ตารางเปรียบเทียบ Trematode , Cestode , Nematode