ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ ผู้จัดทำ Next.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

คำราชาศัพท์.
จดหมายกิจธุระ.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
เรื่องความรู้ทางภาษา
การเลือกใช้คำและกลุ่มคำในการสื่อสาร
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำพ้อง คำที่เขียนรูปหรือออกเสียงตรงกัน แต่ความหมายต่างกัน  คำพ้อง แบ่งเป็น ๓ ชนิด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
การเพิ่มคำ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
โดย ครูภาวัติ บุญกาญจน์
ด.ญ. ธมลวรรณ ศิริเลิศวรกุล ม.1/9 เลขที่ 27
ฉันเหมือนใคร?.
คำพ้อง จุดมุ่งหมาย อธิบายความหมายของคำพ้องรูป พ้องเสียงได้
คำวิเศษณ์.
เรื่อง คำอุทาน.
คำนาม.
การเรียนรู้สู่ราชาศัพท์
สำนวนชวนคิด รุ่งรักษ์ นุ่มไทย.
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย
ของฝากจาก...อาจารย์อ้อ ( ชุดที่ 5 )
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
๓. พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ กด
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
๔.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กน”
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
การเขียน.
สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมานำเสนอ เกมส์บุพบท
  ในเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นเดือนแห่งการเฉลิมฉลองพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนารถ ตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันแม่แห่งชาติ
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
จักรยาน.
ราชาศัพท์.
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
สนุกกับชนิดของคำ เรื่อง คำอุทาน สรุปแผนผังความคิด เรื่องคำอุทาน
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
ที่มาของคำราชาศัพท์ มาจากคำไทย+ภาษาต่างประเทศ บาลี,สันสกฤต,เขมร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ ผู้จัดทำ Next

ภาษาไทย บทที่ ๓ คำราชาศัพท์ บทที่ ๑ คำอุทาน บทที่ ๒ คำไวพจน์ บทที่ ๓ คำราชาศัพท์ บทที่ ๑ คำอุทาน บทที่ ๒ คำไวพจน์ บทที่ ๔ คำพ้องเสียง แบบทดสอบ

               คำอุทาน   คำอุทาน คือ คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด มักจะเป็นคำที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก  และอารมณ์ของผู้พูด เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคำอุทานนี้ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ 1. เป็นคำ เช่น โอ๊ย ว้าย แหม โถ เป็นต้น  2. เป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย คุณพระช่วย ตายละว้า เป็นต้น  3. เป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า ป้าถูกรถชน เป็นต้น Home Next

คำอุทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1           คำอุทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ  1. อุทานบอกอาการ  ใช้เพื่อบอกอาการและความรู้สึกต่างๆของผู้พูด ร้องเรียกหรือบอกเพื่อให้รู้สึกตัว เช่น แน่น เฮ้ โว้ย โกรธเคือง เช่น ชิชะ ดูดู๋ ตกใจ เช่น ตายจริง ว้าย   สงสาร เช่น อนิจจา โถ โล่งใจ เ ช่น เฮ้อ เฮอ ขุ่นเคือง เช่น อุวะ แล้วกัน   ทักท้วง เช่น ฮ้า ไฮ้ เยาะเย้ย เช่น หนอย ชะ   ประหม่า เช่น เอ้อ อ้า ชักชวน เช่น นะ น่า BacK Next

ขุ่นเคือง เช่น อุวะ แล้วกัน   ทักท้วง เช่น ฮ้า ไฮ้ เยาะเย้ย เช่น หนอย ชะ   ประหม่า เช่น เอ้อ อ้า ชักชวน เช่น นะ น่า BacK Next

 2. อุทานเสริมบท  คือ คำพูดเสริมขึ้นมาโดยไม่มีความหมาย อาจอยู่หน้าคำ หลังคำหรือแทรกกลางคำ เพื่อเน้นความหมาย ของคำที่จะพูดให้ชัดเจนขึ้น เช่น อาบน้ำอาบท่า ลืมหูลืมตา กินน้ำกินท่า ถ้าเนื้อความมีความหมายในทางเดียวกัน เช่น ไม่ดูไม่แล ร้องรำทำเพลง เราเรียกคำเหล่านี้ว่า คำซ้อน        BacK Next

ผู้จัดทำ เด็กหญิงศรุตา เขียวผิว เลขที่ ๓๑ เด็กหญิงศรุตา เขียวผิว เลขที่ ๓๑ เด็กหญิงศิริดา โตงามรักษ์ เลขที่ ๓๒ เมนู

บทที่ ๒ คำไวพจน์ คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่มีรูปต่างกันและอาจมีที่มาจากภาษาต่างๆ Home Next

พระเจ้าแผ่นดิน บดินทร์ นโรดม นฤเบศน์ เจ้าหล้า ภูมินทร์ ภูบาล ภูบดินทร์ ธรารักษ์ นรินทร์ นฤบดี จอมราช ท่านไท้ธรณี ขัตติยวงศ์ ธรณีศวร ราเชนทร์ ท้าวธรณิศ ไท้ธาษตรี ปิ่นเกล้าธาษตรี BacK Next

พระอาทิตย์ ทิพากร ทิวากร ทินกร ภาสกร รวิ รวี รพิ ระพี ไถง ตะวัน อาภากร อังศุมาลี สุริยะ สุริยา สุริยัน สุริยน สุริยง ภาณุ ภาณุมาศ อุษณรศมัย ทยุมณี อหัสกร พรมัน ประภากร BacK Next

ดอกไม้ บุษบา บุปผา บุปผชาติ บุหงา บุษบง บุษบัน ผกา มาลา ผกามาศ มาลี สุมาลี สุคันธชาติ   BacK Next

แผ่นดิน หล้า เมธินี ภูมิ ภพ พสุธา ธาษตรี ด้าว โลกธาตุ ภูวดล พิภพ พสุธาดล ปัถพี ปฐวี ปฐพี   ธราดล ธรณี ภูตลา พสุนทรา มหิ พสุมดี BacK Next

คำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์ หมายถึง ถ้อยคำสุภาพ ไพเราะที่ใช้ให้เหมาะกับฐานะของบุคคลในสภาพสังคมไทย ซึ่งผู้ที่ต้องใช้คำราชาศัพท์ด้วยมี  ที่มาของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์ นั้น มีที่มาอยู่ 2 อย่าง คือ รับมาจากภาษาอื่น ภาษาเขมร เช่น โปรด เขนย เสวย เสด็จ เป็นต้น ภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น อาพาธ เนตร หัตถ์ โอรส  เป็นต้น การสร้างคำขึ้นใหม่ โดยการประสมคำ เช่น ลูกหลวงซับพระพักตร์ ตั้งเครื่อง เป็นต้น Home Next

ร่างกาย พระปราง แก้ม พระกำโบล กระพุ้งพระปราง กระพุ้งแก้ม พระมัสสุ หนวด พระปราง                                                 แก้ม พระกำโบล  กระพุ้งพระปราง                 กระพุ้งแก้ม พระมัสสุ                                                 หนวด พระทาฐิกะ  พระทาฒิกะ                          เครา พระโอษฐ์                                         ปาก  ริมฝีปาก พระตาลุ  เพดานพระโอษฐ์                    เพดานปาก พระทนต์                                                  ฟัน พระทันตมังสะ  พระทันตมังสา                เหงือก BacK Next

เครือญาติ ปู่, ตา พระอัยกา หรือ พระอัยกะ ปู่,  ตา                พระอัยกา  หรือ  พระอัยกะ ย่า,  ยาย            พระอัยยิกา  หรือ  พระอัยกี ปู่ทวด,  ตาทวด           พระปัยกา  หรือ  พระปัยกะ ย่าทวด,  ยายทวด        พระปัยยิกา พ่อ                  พระชนก,  พระราชบิดา แม่                     พระชนนี,  พระราชมารดา พ่อตา,  พ่อสามี          พระสสุระ แม่ยาย,  แม่สามี        พระสัสสุ,  พระสัสสู BacK Next

เครื่องใช้ หมอน พระเขนย ประตู พระทวาร หน้าต่าง พระแกล, พระบัญชร หมอน พระเขนย ประตู พระทวาร หน้าต่าง  พระแกล, พระบัญชร คนโทน้ำ พระสุวรรณภิงคาร ช้อน  ฉลองพระหัตถ์ช้อน ส้อม  ฉลองพระหัตถ์ส้อม ตะเกียบ  ฉลองพระหัตถ์ตะเกียบ กระจก พระฉาย BacK Next

คำพ้องเสียง คำพ้องเสียง คือ คำที่ออกเสียงเหมือนกัน ตัวเขียนกับความหมายต่างกัน  Home Next

คำพ้องเสียง จัน หมายถึง ชื่อผลไม้ที่สุกเหลือง หอมรับประทานได้ เช่น ลูกจัน จันทน์ หมายถึง ชื่อต้นไม้ที่มีเนื้อไม้ ดอกและผลหอม นำมาทำยา และเครื่องหอม เช่น ต้นจันทร์ จันทร์ หมายถึง ดวงเดือน , ชื่อผลไม้ที่มีเนื้อไม้ เช่น ดวงจันทร์ วันจันทร์ จรร หมายถึง ความประพฤติ BacK Next

คำพ้องเสียง พัน หมายถึง จำนวน 10 ร้อย , มัดโดยรอบ , เกี่ยวข้องกัน เช่น พันบาท พันเชือก ผูกพัน พันธ์ หมายถึง ผูกมัด , ชื่อเดือนที่ 2 ใน 1 ปี เช่น สัมพันธ์ กุมภาพันธ์ พันธุ์ หมายถึง เชื่อสาย , เหล่ากอ เช่น เผ่าพันธุ์ สืบพันธุ์ พรรณ หมายถึง สี , ผิว , ชนิด เช่น ผิวพรรณ พรรณไม้ ภัณฑ์ หมายถึง สิ่งของ เช่น พัสดุภัณฑ์ BacK Next

คำพ้องเสียง การ หมายถึง กิจธุระ , งาน เช่น การบ้าน การเมือง กาล หมายถึง เวลา , สถานที่ เช่น กาลครั้งหนึ่ง กาลเทศะ การณ์ หมายถึง มูลเหตุ เช่น เหตุการณ์ กาญจน์ หมายถึง ทอง เช่น กาญจนา BacK Next

ข้อที่ 1) คำอุทานหมายถึงข้อใด ข้อที่ 1) คำอุทานหมายถึงข้อใด   ก.  คำที่ใช้เปรียบเทียบ ข.  คำที่ใช้เป็นตัวอย่าง ค.  คำที่ใช้บอกอาการ ความรู้สึก ง.  คำที่ใช้ตักเตือน Home

ข้อที่ 2)ข้อใดไม่ใช่คำอุทาน ข้อที่ 2)ข้อใดไม่ใช่คำอุทาน     ก. รอ!    ข. อ๋อ!      ค. โอ๊ย!   ง.  เย่!

ข้อที่ 3)ข้อใดไม่มีคำอุทาน ข้อที่ 3)ข้อใดไม่มีคำอุทาน ก.   โอ๊ย! อ้อ! อุ๊ย!    ข. เอ้! ฮึ่ม! โอ้!     ค. ว้าย! ต้าย! เอ่อ!     ง. โธ่! โล! ชิชะ!

ข้อที่ ๔) คำไวพจน์ข้อใด แปลว่า น้ำ ก. สายชล ข. ธรณี ค .บุษบา ง. จงกล

ข้อที่ ๕) คำราชาศัพท์ข้อใดแปลว่า พ่อ ข้อที่ ๕) คำราชาศัพท์ข้อใดแปลว่า พ่อ ก. พระราชบิดา ข. พระชนนี ค. พระอัยกา ง. พระเนตร

ข้อที่ ๖) คำราชาศัพท์ข้อใดแปลว่า กระจก ข้อที่ ๖) คำราชาศัพท์ข้อใดแปลว่า กระจก ก. พระเขนย ข. พระปราง ค. พระทวาร ง. พระฉาย

ข้อที่ ๗) คำพ้องเสียงในข้อใดหมายถึง ผิว ข้อที่ ๗) คำพ้องเสียงในข้อใดหมายถึง ผิว ก. พัน ข. พรรณ ค. พันธุ์ ง. ภัณฑ์

ข้อที่ ๘) คำพ้องเสียงข้อใดหมายถึง เวลา ข้อที่ ๘) คำพ้องเสียงข้อใดหมายถึง เวลา ก. กาฬ ข. กาล ค. การ ง. การณ์

ข้อที่ ๙) คำไวพจน์ข้อใดแปลว่า ดอกไม้ ข้อที่ ๙) คำไวพจน์ข้อใดแปลว่า ดอกไม้ ก. บุษบา ข. อังศุมาลี ค. โคมรัตติกาล ง. สาคร

ข้อ ๑o) คำพ้องเสียงในข้อใดแปลว่า ลูกไม้ ก. จันทร์ ข. จัน ค. จันทน์ ง. จรรย์

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ถูกต้องค่ะ เก่งมากค่ะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next

ผิดค่ะ พยายามหน่อยนะคะ Next