เทคนิคการวิจัยแบบ EFR (The Ethnographic Futures Research)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนบทความ.
Advertisements

การเขียนผลงานวิชาการ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดย รศ. ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ 29 กันยายน 2548
การศึกษารายกรณี.
การกำหนดขั้นตอนตำแหน่งทางวิชาการ
การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล
จะเริ่ม อย่างไร ผู้ที่มีคุณสมบัติยังไม่ครบในการ เสนอขอตำแหน่ง ผู้ที่มีคุณสมบัติครบและเสนอขอ ตำแหน่งได้แล้ว 1. ศึกษาเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินในขอตำแหน่งฉบับล่าสุด.
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
Management Information Systems
การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อวิทยุออนไลน์สำหรับนักบริหาร
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
การเขียนข้อเสนอการวิจัย
การสังเกตการณ์ (Observation).
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
ชื่องานวิจัย “แนวทางการบริหารงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของกระทรวงยุติธรรม” คณะวิจัย 1. รองศาสตราจารย์ ดร. ศิริรัตน์
Delphi Technique การวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟาย 7.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการวิจัยแบบ EFR (The Ethnographic Futures Research) รศ.ดร.บุญมี พันธุ์ไทย ผู้พัฒนาเทคนิคแบบ EFR คือ ศาสตราจารย์ ดร.โรเบิร์ต บี เท็กซเตอร์ (Robert B. Textor) แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกาเป็นเทคนิคที่พัฒนามาจากระเบียบวิธีวิจัยทางมนุษยวิทยาที่เรียกว่า การวิจัยชาติพันธ์วรรณา (Ethnographic Research หรือ Ethnography)

EFR เป็นเทคนิคที่พยายามเอาอนาคตภาพและค่านิยมที่เกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มประชากรที่ศึกษา โดยการสัมภาษณ์มีลักษณะเฉพาะคือ สัมภาษณ์แบบเปิดและไม่ชี้นำ

ผู้สัมภาษณ์จะสรุปการสัมภาษณ์จากบันทึกหรือจากเทปบันทึกเสียงให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ฟัง และขอให้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและแก้ไขคำสัมภาษณ์ ซึ่งเรียกว่า เทคนิคการสรุปสะสม (Cumulative Summarization Technique) จะกระทำเช่นนี้จนจบการสัมภาษณ์ เพื่อให้ผู้วิจัยมีความเชื่อมั่นว่า ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ โดยมีความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability)

การสัมภาษณ์แบบ EFR ประกอบด้วยอนาคตภาพที่เป็นทางเลือก (Alternative) 3 ภาพเรียงลำดับกันคือ อนาคตภาพทางดี (Optimistic Realistic Scenario) อนาคตภาพทางร้าย (Pessimistic-Realistic scenario)

อนาคตภาพที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด (Most-Probable Scenario) อนาคตภาพทั้ง 3 ประกอบด้วยแนวโน้มในอนาคตที่ผู้ถูกสัมภาษณ์คาดว่า จะเกิดขึ้นจึงต้องมีค่า Realistic กำกับ

เมื่อสัมภาษณ์ครบทั้ง 3 ภาพตามขั้นตอน ผู้สัมภาษณ์อาจจะสรุปการสัมภาษณ์ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ฟังและขอให้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขและ/หรือเพิ่มเติมคำสัมภาษณ์อีก หรือนำผลการสัมภาษณ์ที่จดบันทึกหรืออัดเทปไว้ กลับไปเรียบเรียงใหม่แล้วส่งผลการสัมภาษณ์ที่เรียบเรียงแล้ว

ไปให้ผู้ถูกสัมภาษณ์อ่านและตรวจแก้ไขเป็นการส่วนตัวหลังจากนั้นนำผลการสัมภาษณ์มาทำการวิเคราะห์หาฉันทามติระหว่างกลุ่มผู้ถูกสัมภาษณ์ แล้วนำแนวโน้มที่มีฉันทามติมาเขียนเป็นอนาคตภาพ ซึ่งเป็นผลการวิจัย

สรุปขั้นตอนของการวิจัยแบบ EFR กำหนดกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย สัมภาษณ์ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ 2.1 แบบเปิดและไม่ชี้นำ (Open-Ended and non- directive)

2.2 แบบกึ่งมีโครงสร้าง (Semi-Structured Interview) คือ มีการเตรียมหัวข้อหรือประเด็นการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้า 2.3 ใช้เทคนิคการสรุปสะสม (Cumulative Summarization)

2.4 สัมภาษณ์อนาคตภาพ 3 แบบ Optimistic – Realistic (O-R) Pessimistic – Realistic (P-R) Most – probable (M-P) วิเคราะห์ / สังเคราะห์ หาฉันทามติ เขียนภาพอนาคต (Scenario Write-up)