บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
Arrays.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Overview of C Programming
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี โครงสร้างภาษา C void main() { ส่วนกำหนดตัวแปร ส่วนชุดคำสั่ง getch(); }

การกำหนดตัวแปร (1) ชนิดตัวแปร มีดังนี้ 1. int หมายถึงตัวแปรชนิดเลขจำนวนเต็มไม่สามารถใช้กับ การคำนวณที่ให้ผลลัพธ์เป็นเลขทศนิยมได้ เช่น จำนวนคน, จำนวนสิ่งของ เป็นต้น เช่น int count; รหัสรูปแบบคือ %d

การกำหนดตัวแปร (2) 2. float หมายถึงตัวแปรชนิดเลขทศนิยม สามารถใช้กับ การคำนวณที่ให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มได้ การคำนวณที่ให้ผลลัพธ์เป็นเลขทศนิยม เช่น คะแนนเฉลี่ย จำนวนเงิน โดยทั่วไป ควรระบุตำแหน่งทศนิยมเป็น 2 เช่น float money; รหัสรูปแบบคือ %f 3

การกำหนดตัวแปร (3) 3. char หมายถึงตัวแปรชนิดตัวอักขระ ถ้ามีความยาว 1 ตัว อักขระ ไม่ต้องระบุตัวเลข แต่ถ้ามีความยาวมากกว่า 1 ตัว อักขระ จะต้องระบุตัวเลข เช่น char gender; รหัสรูปแบบคือ %c char name[20]; รหัสรูปแบบคือ %s

การตั้งชื่อตัวแปร ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรเท่านั้น ห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษ ยกเว้น _ ตัวพิมพ์เล็กตัวพิมพ์ใหญ่ จัดเป็นตัวแปรคนละตัว ใช้ตัวเลขได้ แต่ต้องไม่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข

คำสั่งที่ใช้ในการรับ และ แสดงผล ข้อมูล scanf(“รหัสรูปแบบ”, &ชื่อตัวแปร); เช่น scanf(“%f”,&score); printf(“ข้อความ”); printf(“my name is kookai”); printf(“ข้อความ หรือ รหัสรูปแบบ”, ชื่อตัวแปร) printf(“my points = %f \n”, score); }

ตัวอย่าง จงเขียนโปรแกรมเปลี่ยนเงินบาทเป็นเงินดองและแสดงผล เงินดองทางจอภาพกำหนดให้ 1 บาท เท่ากับ 3,500 ดอง enter BAHT = 70000 YOU GET 20.00 DONG void main() { getch(); } float B, D; printf(“enter BAHT = ”); scanf(“%f”,&B); D = B/3500; printf(“YOU GET %f DONG”, D);

ตัวอย่าง จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับข้อมูลคะแนนสอบของนิสิต 2 ครั้ง และหาผลรวมของคะแนนสอบ แล้วแสดงผล ทางจอภาพ void main() { getch(); } float s1, s2, s3; printf(“Enter your score1 here :”); scanf(“%f”,&s1); printf(“Enter your score2 here :”); scanf(“%f”,&s2); s3 = s1+s2; printf(“Your total Score is %f”,s3);

EX1 จงเขียนโปรแกรม เพื่อคำนวณค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า ซึ่งคิดจากค่าน้ำมัน + ค่าแรงคนงาน + ค่าธรรมเนียมทางด่วน ให้แสดงผลตามรูปแบบ ทางจอภาพ *** input data *** enter fuel = 2000 enter wage = 3200 enter fee = 200 *** output data *** total expense is 5400.00 baht

EX2 จงเขียนโปรแกรม รับข้อมูลคะแนนสอบของนิสิต 3 ครั้ง ทำการหาค่าคะแนนเฉลี่ย และแสดงผลคะแนนเฉลี่ยทางจอภาพ *** input data *** enter score1 = 12 enter score2 = 13 enter score 3 = 14 *** output data *** Average score = 13.00

EX3 จงเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณหาจำนวนเงินรวมซึ่งคิดจาก ราคาอาหาร + ภาษี (7% ของราคาอาหาร) ให้แสดงผล ราคาอาหาร ภาษี และจำนวนเงินรวมทางจอภาพ *** input data *** enter food = 100 *** output data *** Food = 100.00 baht Tax = 7.00 baht total pay = 117.00 baht

จงเขียนโปรแกรมคำนวณเงินสุทธิของพนักงาน คิดจาก EX4 จงเขียนโปรแกรมคำนวณเงินสุทธิของพนักงาน คิดจาก เงินเดือน – ภาษี (2% ของเงินเดือน) ให้แสดงผลชื่อพนักงาน เงินเดือน ภาษีและเงินสุทธิทางจอภาพ enter name = somsri enter salary= 10000 Name is somsri Salary is 10000.00 baht total is 9800.00 baht 12

เครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวณ +  การบวก -  การลบ *  การคูณ /  การหาร จำนวนเต็ม/จำนวนเต็ม  จำนวนเต็มไม่คิดเศษ จำนวนทศนิยม/จำนวนเต็ม หรือ จำนวนเต็ม/จำนวนทศนิยม หรือ จำนวนทศนิยม/จำนวนทศนิยม  จำนวนทศนิยม % การหารที่ต้องการผลคือ เศษ ต้องเป็น จำนวนเต็ม % จำนวนเต็ม เท่านั้น

ลำดับการคำนวณ ตัวอย่างการคำนวณ ให้ทำในวงเล็บก่อน ลำดับที่ 1 ให้ทำในวงเล็บก่อน ลำดับที่ 1 * , / และ % ลำดับที่ 2 + และ – ลำดับที่ 3 ถ้าลำดับเท่ากัน ให้ทำการคำนวณตามเครื่องหมายจากซ้ายไปขวา ตัวอย่างการคำนวณ 8+7*6/5%2 = 8 (20/4)%3+8 = 10 8+7%((3+5)/4)*2.5 = 10.5 1/1%1 = 0 7.2/4+0.2-1 = 1

นิพจน์ทางเลขคณิต การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อคำนวณทาง คณิตศาสตร์ จะต้องเขียนนิพจน์อยู่ในรูปแบบที่ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ได้แก่ + , - , * , / , % เป็นต้น

การแปลงนิพจน์เลขคณิตเป็นนิพจน์ทางเลขคณิตในภาษาซี นิพจน์ภาษาซี d bc a + x2 + 2x – 5 2 ab - c2

การแปลงนิพจน์เลขคณิตเป็นนิพจน์ทางเลขคณิตในภาษาซี นิพจน์ภาษาซี d bc a + a + b * c / d x2 + 2x – 5 2 ab - c2

การแปลงนิพจน์เลขคณิตเป็นนิพจน์ทางเลขคณิตในภาษาซี นิพจน์ภาษาซี d bc a + a + b * c / d x2 + 2x – 5 pow(x,2) + 2 * x - 5 2 ab - c2

การแปลงนิพจน์เลขคณิตเป็นนิพจน์ทางเลขคณิตในภาษาซี นิพจน์ภาษาซี d bc a + a + b * c / d x2 + 2x – 5 pow(x,2) + 2 * x - 5 2 ab - c2 a * b / 2 – pow(c,2)