การเตรียมผู้ป่วย ก่อนรับการรักษาด้วยรังสี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
Advertisements

อาหารหลัก 5 หมู่.
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
สื่อประกอบการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
บทที่ 2.
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม Radiation therapy for breast cancer
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ดูแลดุจญาติมิตร พร้อมดวงจิตบริการ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
Basic Technigue in Radiation Therapy Cop Radio Therapy.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
เตรียมตัวอย่างไร ปลอดภัยจากการใช้รังสี
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
วิธีง่าย ๆ ต่อสู้กับมะเร็ง
Cancer.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ทางนำไปสู่การมีสุขภาพดี
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ศัลยกรรมเสริม หน้าอก. สารบัญ  ลักษณะของถุงเต้านมเทียม  รูปทรงของถุงเต้านม  ขั้นตอนการผ่าตัดเสริมหน้าอก  การดูแลหลังการผ่าตัดเสริมหน้าอก.
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมผู้ป่วย ก่อนรับการรักษาด้วยรังสี พรพิมล ชำนาญจันทร์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานผู้ป่วยนอกรังสีรักษา ศูนย์มะเร็งอุดรธานี

รังสีแพทย์ พยาบาลรังสีรักษา นักฟิสิกส์การแพทย์ นักรังสีการแพทย์ บทบาทพยาบาลรังสีรักษา กับทีมสหสาขาวิชาชีพ รังสีแพทย์ พยาบาลรังสีรักษา นักฟิสิกส์การแพทย์ นักรังสีการแพทย์

การเตรียมผู้ป่วยก่อนมารับการรักษาด้วยรังสี พยาบาลจะต้องมีความรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 1. โรคและระยะของโรค 2. แผนการรักษาของแพทย์ 3. จุดมุ่งหมายของการรักษา 4. การพยากรณ์โรค

วัตถุประสงค์ เพื่อขจัดความกลัวต่อภาวะต่างๆ เช่นกลัวต่อโรค สถานที่ เครื่องมือ เตรียมความพร้อมของครอบครัวและ การทำงานเพื่อขจัดความกังวลต่อความรับผิดชอบ 3.ให้ผู้ป่วยมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรักษาจนครบ แผนการรักษาของแพทย์และเกิดภาวะแทรกซ้อน จากรังสีน้อยที่สุด

การเตรียมด้านจิตใจ การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและญาติ พยาบาลควรให้ความรู้และคำแนะนำในเรื่องต่อไปนี้

1.การฉายรังสีคืออะไร

Definition รังสีรักษา คือ การนำคุณสมบัติการแตกตัวออกเป็น ประจุของรังสีพลังงานสูงมารักษาโรคต่างๆ รังสีที่นำมาใช้มีทั้งกลุ่มที่เกิดจากคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้า หรือรังสีที่เกิดจากอนุภาคของอะตอม

Definition โดยรังสีมีอำนาจทะลุทะลวงผ่านเข้าไปยังเนื้อเยื่อ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ ดังนี้ หยุดยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ ตัดทางลำเลียงอาหารมายังเซลล์ เกิดการแตกสลายของเซลล์ ก้อนเนื้อยุบแห้ง

การแบ่งวิธีให้รังสีรักษา 1. Teletherapy (External Beam Irradiation) 2. Brachytherapy - Intracavitary Radiotherapy - Interstitial Radiotherapy - Surface Placement ( Mould ) 3. Internal or Systemic Radiotherapy

2.ขั้นตอนและเหตุผลการรักษา

สร้างภาพจำลอง

คำนวณปริมาณรังสีเพื่อให้ได้ขนาดตามที่แพทย์กำหนด

ฟังคำแนะนำการปฏิบัติตัว

ฉายรังสี

ฉายรังสี ห้อง Control ห้องฉาย Linac

ห้องฉาย Co-60

3.แผนการรักษาและระยะเวลาที่ใช้ ฉายทุกวัน จันทร์-ศุกร์ หยุดเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดราชการ ระยะเวลาประมาณ 4 – 6 สัปดาห์

4.ค่าใช้จ่ายในการรักษา แนะนำเรื่องการใช้สิทธิบัตร เอกสารต่างๆ หากไม่มีสิทธิบัตรต่างๆ ต้องชำระเงินสด เตรียมค่าใช้จ่าย “ทรวงอก”ประมาณคอร์สละ4-5หมื่นบาท “อุ้งเชิงกราน” ประมาณคอร์สละ3-4หมื่นบาท

การรับประทานอาหาร น้ำดื่ม การพักผ่อน ออกกำลังกาย 5.ข้อปฏิบัติเมื่อมารับการรักษาด้วยรังสี การดูแลผิวหนัง การรับประทานอาหาร น้ำดื่ม การพักผ่อน ออกกำลังกาย

6.แนะนำญาติดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยต่อสู้กับโรคต่อไป

7.ภาวะแทรกซ้อนจากการฉายรังสี General Reaction - อ่อนเพลีย - ภูมิต้านทานต่ำ 2. Local Effect - Acute Effect - Late Effect

การเตรียมด้านร่างกาย การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและญาติ การเตรียมด้านร่างกาย

ด้านเอกสารผลการตรวจ 1.เตรียมผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC, BUN, Cr, LFT, VDRL, HBsAg,anti HIV, และ CXR 2.ผลชิ้นเนื้อต้องมีทุกรายเพื่อยืนยันการเป็นมะเร็ง 3.ประวัติการรักษา 4.Film CT , film x-ray ที่เกี่ยวข้องพร้อม ใบอ่านผล

ด้านสภาพร่างกายผู้ป่วย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ พักผ่อนเพียงพอ งดเว้นสิ่งเสพติด 2. เตรียมความพร้อมพิเศษสำหรับอวัยวะที่ จะได้รับการฉายรังสี ได้แก่

เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี สมองและไขสันหลัง ทำความสะอาดหนังศีรษะ บริเวณที่จะรักษาให้สะอาดที่สุด 2. โกนผมบริเวณที่จะรักษา หรือโกนทั้งศีรษะ 3. หลีกเลี่ยงไม่ให้ผิวหนังเกิดการระคายเคืองหรือถลอก

เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี ศีรษะและลำคอ จะต้องได้รับการตรวจและรักษาช่องปากและทันตกรรมทุกราย ทรวงอก ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งเต้านม จะต้องบริหารแขนเพื่อป้องกันไม่ให้แขนติด

เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี ช่องท้องและอุ้งเชิงกราน ดูแลความสะอาดทั่วไปของร่างกายก่อนเริ่มการรักษา ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกต้องทำ cystoscope และ proctoscope ให้เรียบร้อย ทำ IVP เพื่อดูแลการลุกลามของโรคมะเร็ง

ขอบคุณค่ะ