การเตรียมผู้ป่วย ก่อนรับการรักษาด้วยรังสี พรพิมล ชำนาญจันทร์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานผู้ป่วยนอกรังสีรักษา ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
รังสีแพทย์ พยาบาลรังสีรักษา นักฟิสิกส์การแพทย์ นักรังสีการแพทย์ บทบาทพยาบาลรังสีรักษา กับทีมสหสาขาวิชาชีพ รังสีแพทย์ พยาบาลรังสีรักษา นักฟิสิกส์การแพทย์ นักรังสีการแพทย์
การเตรียมผู้ป่วยก่อนมารับการรักษาด้วยรังสี พยาบาลจะต้องมีความรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 1. โรคและระยะของโรค 2. แผนการรักษาของแพทย์ 3. จุดมุ่งหมายของการรักษา 4. การพยากรณ์โรค
วัตถุประสงค์ เพื่อขจัดความกลัวต่อภาวะต่างๆ เช่นกลัวต่อโรค สถานที่ เครื่องมือ เตรียมความพร้อมของครอบครัวและ การทำงานเพื่อขจัดความกังวลต่อความรับผิดชอบ 3.ให้ผู้ป่วยมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรักษาจนครบ แผนการรักษาของแพทย์และเกิดภาวะแทรกซ้อน จากรังสีน้อยที่สุด
การเตรียมด้านจิตใจ การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและญาติ พยาบาลควรให้ความรู้และคำแนะนำในเรื่องต่อไปนี้
1.การฉายรังสีคืออะไร
Definition รังสีรักษา คือ การนำคุณสมบัติการแตกตัวออกเป็น ประจุของรังสีพลังงานสูงมารักษาโรคต่างๆ รังสีที่นำมาใช้มีทั้งกลุ่มที่เกิดจากคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้า หรือรังสีที่เกิดจากอนุภาคของอะตอม
Definition โดยรังสีมีอำนาจทะลุทะลวงผ่านเข้าไปยังเนื้อเยื่อ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ ดังนี้ หยุดยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ ตัดทางลำเลียงอาหารมายังเซลล์ เกิดการแตกสลายของเซลล์ ก้อนเนื้อยุบแห้ง
การแบ่งวิธีให้รังสีรักษา 1. Teletherapy (External Beam Irradiation) 2. Brachytherapy - Intracavitary Radiotherapy - Interstitial Radiotherapy - Surface Placement ( Mould ) 3. Internal or Systemic Radiotherapy
2.ขั้นตอนและเหตุผลการรักษา
สร้างภาพจำลอง
คำนวณปริมาณรังสีเพื่อให้ได้ขนาดตามที่แพทย์กำหนด
ฟังคำแนะนำการปฏิบัติตัว
ฉายรังสี
ฉายรังสี ห้อง Control ห้องฉาย Linac
ห้องฉาย Co-60
3.แผนการรักษาและระยะเวลาที่ใช้ ฉายทุกวัน จันทร์-ศุกร์ หยุดเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดราชการ ระยะเวลาประมาณ 4 – 6 สัปดาห์
4.ค่าใช้จ่ายในการรักษา แนะนำเรื่องการใช้สิทธิบัตร เอกสารต่างๆ หากไม่มีสิทธิบัตรต่างๆ ต้องชำระเงินสด เตรียมค่าใช้จ่าย “ทรวงอก”ประมาณคอร์สละ4-5หมื่นบาท “อุ้งเชิงกราน” ประมาณคอร์สละ3-4หมื่นบาท
การรับประทานอาหาร น้ำดื่ม การพักผ่อน ออกกำลังกาย 5.ข้อปฏิบัติเมื่อมารับการรักษาด้วยรังสี การดูแลผิวหนัง การรับประทานอาหาร น้ำดื่ม การพักผ่อน ออกกำลังกาย
6.แนะนำญาติดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยต่อสู้กับโรคต่อไป
7.ภาวะแทรกซ้อนจากการฉายรังสี General Reaction - อ่อนเพลีย - ภูมิต้านทานต่ำ 2. Local Effect - Acute Effect - Late Effect
การเตรียมด้านร่างกาย การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและญาติ การเตรียมด้านร่างกาย
ด้านเอกสารผลการตรวจ 1.เตรียมผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC, BUN, Cr, LFT, VDRL, HBsAg,anti HIV, และ CXR 2.ผลชิ้นเนื้อต้องมีทุกรายเพื่อยืนยันการเป็นมะเร็ง 3.ประวัติการรักษา 4.Film CT , film x-ray ที่เกี่ยวข้องพร้อม ใบอ่านผล
ด้านสภาพร่างกายผู้ป่วย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ พักผ่อนเพียงพอ งดเว้นสิ่งเสพติด 2. เตรียมความพร้อมพิเศษสำหรับอวัยวะที่ จะได้รับการฉายรังสี ได้แก่
เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี สมองและไขสันหลัง ทำความสะอาดหนังศีรษะ บริเวณที่จะรักษาให้สะอาดที่สุด 2. โกนผมบริเวณที่จะรักษา หรือโกนทั้งศีรษะ 3. หลีกเลี่ยงไม่ให้ผิวหนังเกิดการระคายเคืองหรือถลอก
เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี ศีรษะและลำคอ จะต้องได้รับการตรวจและรักษาช่องปากและทันตกรรมทุกราย ทรวงอก ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งเต้านม จะต้องบริหารแขนเพื่อป้องกันไม่ให้แขนติด
เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี ช่องท้องและอุ้งเชิงกราน ดูแลความสะอาดทั่วไปของร่างกายก่อนเริ่มการรักษา ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกต้องทำ cystoscope และ proctoscope ให้เรียบร้อย ทำ IVP เพื่อดูแลการลุกลามของโรคมะเร็ง
ขอบคุณค่ะ