ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ปีการศึกษา 2551 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุทัยธานี เขต 1.
ความหมายของการหาร กลุ่มละ 4 วง
สื่อการสอน เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ระคน
อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ
มารู้จักเรื่องตัวประกอบกันนะจ้ะ
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อบทเรียน multipoint
สาระที่ 4 พีชคณิต.
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
We well check the answer
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
จำนวนเฉพาะ. จำนวนเฉพาะ ความหมาย 3 จำนวนเฉพาะ หมายถึง จำนวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 และตัวมันเอง 4.
เศษส่วน.
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ด.ญ. ยุพิน จันทร์หอม ด.ญ. นริศรา โภคา
เทคนิคการตั้งคำถามที่ดี (Using Effective Question Techniques)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ปรีชา เนาว์เย็นผล ศึกษาศาสตร์ มสธ.
ตัวประกอบของจำนวนนับ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวประกอบ

ความหมาย

ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว

การหาตัวประกอบ

ตัวอย่างที่ 1 วิธีทำ จงหาตัวประกอบของ 24 โดยวิธีการหาผลหาร จากตาราง การหาตัวประกอบของ 24 โดยวิธีหาผลหาร ดังตารางต่อไปนี้ ตัวหาร ตัวตั้ง ผลหาร 1 1 1 24 24 24 24 2 2 2 24 12 12 12 3 3 3 24 8 8 8 4 4 4 24 24 6 6 6 จากตาราง จะเห็นว่าเมื่อเอาตัวหารคือ , , , และผลหารคือ , , , ไปหาร 24 แล้ว จะได้ลงตัว ดังนั้น , , , , , , , เป็นตัวประกอบของ

ตัวอย่างที่ 2 จงหาตัวประกอบทั้งหมดของ 18 ดังนั้น 1 เป็นตัวประกอบของ 18 เพราะ 181  18 ซึ่งหารได้ลงตัว 1 2 เป็นตัวประกอบของ 18 เพราะ 182  9 ซึ่งหารได้ลงตัว 2 3 เป็นตัวประกอบของ 18 เพราะ 183  6 ซึ่งหารได้ลงตัว 3 6 เป็นตัวประกอบของ 18 เพราะ 186  3 ซึ่งหารได้ลงตัว 6 9 เป็นตัวประกอบของ 18 เพราะ 189  2 ซึ่งหารได้ลงตัว 9 18 18 เป็นตัวประกอบของ 18 เพราะ 1818  1 ซึ่งหารได้ลงตัว 18 ดังนั้น เป็นตัวประกอบทั้งหมดของ , , , , ,

การแยกตัวประกอบ

พิจารณาประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ต่อไปนี้ (1) 49 7  7 = (2) 80 = 2  2  2  2  5 ดังนั้น ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ข้อ(1) และข้อ(2) อยู่ในรูป การแยกตัวประกอบ เพราะ เป็นจำนวนเฉพาะทุกจำนวน (3) 2  15 30 = (4) 240 = 2  2  2  30 ดังนั้น ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ข้อ(3) และข้อ(4) ไม่อยู่ในรูป การแยกตัวประกอบ เพราะ 15 และ 30 ไม่ใช่จำนวนเฉพาะ

สรุปได้ว่า

การแยกตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง ประโยคที่แสดงการเขียนจำนวนนับนั้นในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ

การแยกตัวประกอบ ที่มีตัวประกอบเป็นจำนวนเฉพาะ ทำได้ 2 แบบ ดังนี้ แบบที่ 1 โดยใช้วิธีตั้งหาร จงแยกตัวประกอบของ 360 โดยวิธีตั้งหาร 2 2 360 2 2 180 2 2 90 3 3 45 3 3 15 5 5 จะได้ 360      

หรือ จะได้ แบบที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 36 โดยใช้แผนภาพ ดังนี้ 4  9 2  18 2  2  3  3 2  2  9 2  2  3  3 จะได้ 36  2  2  3  3

สวัสดี