การพัฒนากระบวนการคิด ดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ สำนักงาน กศน.
“ฆเฏสิ ฆเฏสิ กึ กรเณ ฆเฏสิ อหํ ปิตํ ชานามิ ชานามิ” “ฆเฏสิ ฆเฏสิ กึ กรเณ ฆเฏสิ อหํ ปิตํ ชานามิ ชานามิ”
สิ่งที่เราจะเรียนรู้ในวันนี้ การคิดเชิงระบบ การคิดเกี่ยวกับตัวเราเอง การคิดเชิงวิภาษวิธี คิดเป็น
การคิดเชิงระบบ การมองอย่างองค์รวม ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ระบบต่างๆ จะมีระบบย่อยของมันเอง ระบบอินทรีย์ ระบบกลไก ระบบสังคม ระบบเปิด และ ระบบปิด มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมต่างกัน ระบบมีขอบเขตของตนเอง
การคิดเชิงระบบ ( ต่อ ) ผลรวมของสิ่งที่รวมกันมีค่ามากกว่าจำนวนรวมกันของสิ่งนั้นๆ ระบบใดๆก็ตามย่อมมีความสันพันธ์กัน โดยการเปิดรับ “พลังงาน” ของแต่ละระบบ ระบบจะจัดการตัวเองโดยการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
ระบบคิดแบบแข็งตัว Hard system thinking โลกที่สลับซับซ้อนนั้น สามารถมองเป็นแบบจำลองที่ชัดเจนได้ มุ่งบรรลุเป้าหมาย โลกนี้สามารถจัดการ “สยบปัญหา” ได้ มีสูตรสำเร็จในการจัดการสิ่งต่างๆ ผู้มีเทคโนโลยีคือผู้ที่มีอำนาจในการจัดการทั้งมวล
ระบบคิดแบบยืดหยุ่น Soft system thinking มุ่งเรียนรู้ ทำความเข้าใจ ด้วยวิธีคิดเชิงระบบ การเรียนรู้ประเด็น ปัญหา เป็นสิ่งประดิษฐ์ทางความคิด ไม่มีสูตรสำเร็จ ขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละคน เรียนรู้ร่วมกันสร้างสรรค์สังคม ไม่มีคำตอบสุดท้าย และคำถามไม่เคยจบสิ้น
การคิดเกี่ยวกับตัวเราเอง จงตอบคำถามที่วิทยากรถามทีละคำถาม คำตอบทุกคำตอบ ท่านรู้คนเดียวว่าถูกต้องมากน้อยเพียงใด พร้อม หรือ ยัง ?
การคิดเชิงวิภาษวิธี Dialectic Thesis Antithesis Synthesis
กิจกรรมกลุ่ม จงเลือก ข่าว ที่กลุ่มสนใจ ๑ ข่าว แล้วช่วยกันคิดเชิงวิภาษวิธี
คิดด้วยตัวเอง จงคิดเชิงวิภาษวิธี เรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเราในวันนี้
คิดเป็น นัยทางประวัติศาสตร์ของคิดเป็น หลักการของคิดเป็น กระบวนการคิดแบบคิดเป็น
นัยทางประวัติศาสตร์ ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ ผู้ให้กำเนิด “คิดเป็น” พัฒนาการสู่เป้าหมายของการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จ เป้าหมายของการศึกษาไทย เอกลักษณ์ กศน. ไทย สะท้อนแนวคิดของปรัชญาตะวันออก
หลักการของคิดเป็น มนุษย์ต้องการความสุข ความสุขของแต่ละคนนั้นต่างกันเพราะพื้นฐานและสภาพแวดล้อมของแต่ละคนต่างกัน ความสุขเกิดขึ้นได้ เพราะมนุษย์สามารถปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมได้ การที่จะปรับตัวได้ ต้องใช้การตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุด การตัดสินใจต้องใช้ข้อมูลรอบด้าน
การตัดสินใจแบบคิดเป็น
การฝึกให้เป็นคนคิดเป็น ใช้กรณีตัวอย่างเป็นแรงจูงใจให้คิด กรณีตัวอย่างจากอดีต กรณีตัวอย่างจากเหตุการณ์ปัจจุบัน กรณีตัวอย่างที่สมมุติขึ้น ใช้ประเด็นปลายเปิดเป็นวิธีการให้อภิปราย
ฝึกคิดเป็น จงฟังกรณีตัวอย่างที่เล่าให้ฟัง อย่างตั้งใจ ประเด็นปลายเปิด “ถ้าเป็นท่าน ท่านจะทำอย่างไร” จงใช้กระบวนการกลุ่ม ช่วยกันคิด
ท่านเป็นคนคิดเป็นหรือไม่ เพราะอะไร ใช้กระบวนการกลุ่มช่วยกันคิด
คนคิดเป็น แก้ปัญหาชีวิตพาสุขสันติ์ ชีวิตนี้ทำความดีทุกๆวัน คนคิดเป็นนั้นดูเด่นนักหนา แก้ปัญหาชีวิตพาสุขสันติ์ ชีวิตนี้ทำความดีทุกๆวัน อยู่รวมกันในสังคมสุขสมเอย
คิดดี พูดดี ทำดี