สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ดิน(Soil).
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
Laboratory in Physical Chemistry II
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ผลพลอยได้จากเมล็ดพืชน้ำมัน
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การเล่าเรื่อง.... ชีววิถีสู่ครัวเรือน. เรื่อง การผลิตฮอร์โมนพืช ผู้เล่า ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย แนวคิด อยากลองใช้ EM กับต้นไม้ดอกไม้ใน บ้านเพื่อเร่งการออกดอกของต้นไม้
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
สาเหตุของดินเสีย.
การปลูกพืชกลับหัว.
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
วิธีหมัก หมัก 3 วัน เติมออกซิเจน.
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การเจริญเติบโตของพืช
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก. *ถ้าใส่ปุ๋ย 50 กก.ผสมสารเสริม ฯ พืชจะกินได้ทั้ง 50 กก. 1.ทำให้ดินร่วนซุยน้ำซึมผ่านได้ดี(เป็นอ่างเก็บน้ำใต้ดิน) 2. เร่งการเจริญของรากขนอ่อน (พืชหาอาหารเก่งขึ้น) 3. ปรับสภาพความเป็นกรด - ด่างให้เป็นกลาง สรุปว่าถ้าใสปุ๋ยเฉย ๆ 100 ก.ก. ข้าวจะกินได้แค่ 30 ก.ก. แต่ถ้าใช้แอ๊ปซ่าผสมก่อนหว่าน ไม่ต้องใส่ถึง 100 ให้ใส่แค่ครึ่งเดียวคือ 50 ก.ก. ข้าวจะกินได้ทั้ง 50 ก้เลยงามกว่าใส่ 100 กินได้ 30 -นอกจากนั้นแอ๊ปซ่ายังมีประโยชน์หลายอย่างคือ (พูดแต่ละประเด็นให้สอดคล้องกับการสาธิต โดยต้องฝึกล่วงหน้า) (สาธิตโดยเอาน้ำใส่แก้ว 2 ใบ ใบแรกโรยแป้งเด็กแคร์ลงไป สมมุติว่าเป็นปุ๋ย แป้งจะลอยอยู่บนผิวน้ำ พูดถึงการสูญเสียของปุ๋ยอีกครั้ง แก้วใบที่ 2 ใส่แอ๊ปซ่า ลงไปคนให้เข้ากัน โรยแป้งลงไปยกขึ้นให้ดูว่าแป้งจะจมลงอย่างรวดเร็ว อธิบายว่าถ้าใช้แอ๊ปซ่าจะช่วยให้ปุ๋ยลงไปหารากพืชอย่างรวดเร็ว ไม่สูญเสีย ยกแก้วที่ใส่แอ๊ปซ่าให้ดูอีกครั้งแล้วบอกว่า ถ้าใส่ปุ๋ยในนาแบบนี้ พอหว่านปุ๋ยหมดกระสอบเดินกลับมาจะไม่เห็นเม็ดปุ๋ยแล้ว แต่ถ้าใส่ปุ๋ยเฉย ๆ แบบแก้วแรกที่แป้งไม่จม หว่านไป 3 วัน 7 วัน ก็ยังเห็นเม็ดปุ๋ยตามเดิม บางคนเอาไปใส่มัน ผ่านไป 1 ปี พอขุดหัวมันยังเห็นปุ๋ยเป็นเม็ดเหมือนเดิมเท่ากับว่าเราเอาเงินค่าปุ๋ยไปหว่านทิ้ง) -ข้อ 2 แอ๊ปซ่ายังช่วยเร่งการเจริญของรากขนอ่อน รากแก้วรากแขนงจะไม่ดูดอาหาร ต้องเป็นรากขนอ่อนที่เดิดใหม่ ๆเท่านั้น ถ้าใครถอนกล้ายากให้ใช้แอ๊ปซ่า 1 ฝา เทใส่ 4 มุมแปลงกล้า มันจะไหลวูปไปหากันเอง พรุ่งนี้กล้าจะแทงรากออกมาขาวจั๊ว ถอนงาย แต่ถ้าทิ้งไว้นานหลายวัน รากยาวกว่าเดิม ถอนยากกว่าเดิมนะ เดี๋ยวจะหาว่าเกษตรไม่เตือน(สาธิตโดยเทน้ำแก้วที่ 1 ที่มีแป้งลอยอยู่บนผิวน้ำลงในกรวยกระดาษ ชูให้ดูว่าน้ำไม่ซึมผ่านกรวย แล้ววางกลวยลงในแก้วใส ทำเหมือนเดิมกับแก้วที่ผสมแอ๊ปซ่าที่แป้งจมลงไปหมดแล้ว จะพบว่าน้ำพาแป้งซึมผ่านกรวยกระดาษอย่างรวดเร็ว ยกกรวยให้น้ำหยดลงในแก้วใสให้เห็นชัดเจน) อธิบายเพิ่มเติมว่าแอ๊ปซ่าช่วยทำให้ดินร่วนซุย น้ำซึมผ่านได้ดี ใส่ปุ๋ยยาง หรือมันได้โดยไม่ต้องขุดหลุม -ข้อ3ชี้ให้ดูการสาธิตครั้งแรกที่ทำให้เปลี่ยนสี -ข้อ4คือ 1 ลิตรจะช่วยผสมปุ๋ยได้ 10 กระสอบ ใช้แทนปุ๋ย 20 กระสอบได้ ประหยัดเงินกว่า 10,000 บาทต่อลิตร โยที่แอ๊ซ่าราคาลิตรละแค่ 400 บาท ถ้าใช้ไม่ดี(ไม่เกินครึ่งขวด)ก็ยังสามารถคืนเงินได้หมดทุกบาทอีก -ข้อ5สาธิตโดยการใช้ใบไม้ที่ไม่คอ่ยจะเปียกน้ำจุ่มลงในแก้วหรือกรวยที่มีน้ำกับแป้ง สมมุติว่าฉีดพ่นยาฆ่าหญ้าไปถูกใบไม้ น้ำไม่ค่อยเกาะ หญ้าไม่ตาย ทำแบบเดียวกันกับอีกแก้วที่มีแอ๊ปซ่า จะพบว่าเปียกง่ายกว่า ช่วยให้ฉีดง่าย ไกลกว่าเดิม ประหยัดยาลง 50 % ปลอดภัยขึ้น 4. เสริมประสิทธิภาพปุ๋ยเคมี(ลดปุ๋ย 10 กระสอบ/ลิตร) 5. เป็นสารจับใบที่ไม่เป็นสนิม ไม่ทำลายปากใบพืช

2. น้ำ 1 ลิตร 1. แอ็ปซ่า 100 ซี.ซี 5.หว่านน้องลง 4. หมักไว้ 1 คืน 50 % 3. ปุ๋ย 1 กระสอบ -นี่วิธีผสมปุ๋ย(กดไปทีละขั้นตอน) คือ 1 ลิตรมี 1,000 ซี.ซี. เราแบ่งมาทีละ 100 ซี.ซี.(ประมาณ 1 ขวดกระทิงแดง) (จะแบ่งได้ 10 ครั้ง คือผสมปุ๋ยได้ 10 กระสอบ) เอามาผสมน้ำ 1 ลิตร รดลงในกระสอบปุ๋ย 1 กระสอบ ไม่ต้องคน หมักไว้ 1 คืน จะซึมลงไปเปียกหมดทุกเม็ด แต่ปุ๋ยจะไม่เปื่อย แล้วเอาปุ๋ยที่หมักไว้แล้วไปหว่านโดยใช้น้อยกว่าเดิม 50 % ง่ายดีไหม

ใช้แอ๊ปซ่า 1 ลิตร ปรับความเป็นกรดของดินได้ 40 ไร่ ถ้าใช้ปูนขาวปรับความเป็นกรดอัตรา 200 ก.ก./ไร่ ต้องใช้ปูนขาว 8 ตัน -ถ้าใช้ปูนขาวปรับความเป็นกรดของดิน ต้องใช้มากถึง 8 ตัน ต้องขนเป็นรถสิบล้อ แต่ถ้าใช้แอ๊ปซ่า ลิตรเดียว จบ ถ้าใส่ปุ๋ยยางปกติต้องขุดหลุม 3-4 หลุมรอบต้น เดินรอบ 2 เพื่อโรยปุ๋ย เดินรอบ 3 เพื่อกลบหลุม 1 ต้นเดิน 3 รอบ 1 ไร่ปลูก 70-80 ต้น ปลูกทีละ 30-40 ไร่ ต้องเดินรอบต้นยาง ??????? แต่ถ้าใช้แอ๊ปซ่าผสมปุ๋ย ก็คือหว่านไปเลยไม่ต้องขุดหลุม สบายกว่ากันไหมครับ ลดค่าแรงงานได้เยอะไหมครับ แล้วปุ๋ยก้ไม่ไหลหนีด้วย ดีไหมครับ