หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
Photochemistry.
นางสาวจัตวา จันทร์สุวรรณ
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
Ultrasonic sensor.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เครื่องเคาะสัญญาณ.
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ระบบโทรคมนาคม.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เตาไมโครเวฟ.
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
Major General Environmental Problems
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves) วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6

คลื่น (waves) 1. คลื่น (waves) 2. สมบัติของคลื่น (property of waves) 3. คลื่นเสียง (sound waves) 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic)

(Electromagnetic waves) 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves)

ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 2. นำเสนอประโยชน์ และอันตรายที่เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้

4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic) 1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 2. สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 3. ประโยชน์ของคลื่นวิทยุ 4. ประโยชน์ของไมโครเวฟ 5. ประโยชน์ของรังสีอินฟราเรด 6. ประโยชน์ของรังสีอัลตราไวโอเลต 7. ประโยชน์ของรังสีเอกซ์ 8. ประโยชน์ของรังสีแกมมา

กฎมือขวา ทิศของแรงแม่เหล็กเป็นไปตามกฎมือขวา โดยให้นิ้วทั้งสี่ทิศตามความเร็ว (v) จากนั้นวนนิ้วทั้งสี่เข้าหาสนามแม่เหล็ก (B) โดยที่มุม σ มีค่า http://www.rsu.ac.th/tlsd/e_learning/b_field/mag4.htm

ทิศของแรงแม่เหล็กที่กระทำบนประจุบวก และ ประจุ ลบตามกฎมือขวา กรณีประจุบวก (+q) เคลื่อนที่ภายในสนามแม่เหล็ก (B) แรงที่กระทำบนประจุบวกคือผลจากการ cross เวกเตอร์ระหว่างความเร็ว (v) กับสนามแม่เหล็ก (B) โดยให้นิ้วทั้งสี่ทิศตามความเร็ว จากนั้นกวาดนิ้วทั้งสี่เข้าหาสนามแม่เหล็ก (โดยกวาดตามมุมที่มีค่าน้อย) นิ้วหัวแม่มือจะแสดงทิศของแรงดังรูปทางซ้ายมือ http://www.rsu.ac.th/tlsd/e_learning/b_field/mag4.htm

ทิศของแรงแม่เหล็กที่กระทำบนประจุบวก และ ประจุ ลบตามกฎมือขวา สำหรับประจุลบ (-q) ทิศของแรงแสดงดังรูปทางซ้ายมือ ทำเช่นเดียวกับประจุบวก (+q) เพียงแต่ทิศตรงกันข้ามกับประจุบวก นั่นคือทิศตรงกันข้ามกับนิ้วหัวแม่มือ http://www.rsu.ac.th/tlsd/e_learning/b_field/mag4.htm

1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแสดงสมบัติของคลื่นเหมือนกัน ดังนี้ 1. มีการสะท้อน มีการหักเห มีการแทรกสอด และมีการเลี้ยวเบนได้ 2. เคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศได้เร็วเท่ากัน และเร็วเท่ากับแสง v = c ; c = 3 x 108 m/s 3. V = fλ ในตัวกลางที่ไม่ใช่สุญญากาศ v ไม่เท่ากัน

James Clerk Maxwell http://dbhs.wvusd.k12.ca.us/webdocs/Gallery/Gallery9.html

Heinrich Hertz http://www.sparkmuseum.com/HERTZ.HTM

ตัวอย่างแบบฝึกหัด 1) จงหาอัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในแก้ว ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 108 Hz และมีความยาวคลื่น 2 m (2 x 108 m/s)

2. สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้างเราเรียกช่วงความถี่เหล่านี้ว่า "สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า" และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกำเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่างๆ ในสเปกตรัมมีสมบัติที่สำคัญเหมือนกันคือ เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมกับคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นมีชื่อเรียกดังนี้

http://www. chemistry. ohio-state http://www.chemistry.ohio-state.edu/~grandinetti/teaching/Chem121/lectures/waveparticle/waveparticlelight.html

ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ สนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลง จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าขึ้นรอบ ๆ และสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง จะเหนี่ยวนำ ให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นรอบ ๆ โดยการเหนี่ยวนำจะเกิดอย่างต่อเนื่อง เกิดเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกไปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เรียงลำดับจากความถี่ต่ำสุดไปสูงสุด ได้ดังนี้ คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด แสง รังสีอุลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา

Electromagnetic spectrum http://www.ericsson.com/ericsson/corpinfo/health/facts/general/radiowaves.shtml

http://universe.nasa.gov/program/bh-finder.html

http://en.wikipedia.org/wiki/Radio

http://lasp.colorado.edu/cassini/education/Electromagnetic%20Spectrum.htm

http://www.colourware.co.uk/cpfaq/q1-1.htm

3. ประโยชน์ของคลื่นวิทยุ คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร 1.1 ระบบ A.M. (amplitude modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลื่นฟ้า (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์) 1.2 ระบบ F.M. (frequency modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน

A.M. (amplitude modulation) http://www.sitefinder.radio.gov.uk/mobilework.htm

A.M. , F.M. http://www.physik.rwth-aachen.de/~hebbeker/lectures/ph1_0102/p112_l05.htm

4. ประโยชน์ของไมโครเวฟ คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ สะท้อนจากผิวโลหะได้ดีในการส่งสัญญาณอาศัยสถานีถ่ายทอด หรือใช้ดาวเทียม ใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตำแหน่งวัตถุที่เรียกว่า "เรดาร์" เตาไมโครเวฟ

5. ประโยชน์ของรังสีอินฟราเรด (infrared rays) รังสีอินฟราเรด มนุษย์รับรู้ในรูปความร้อน(ทางผิวหนัง) ใช้ในรีโมทคอนโทล เครื่องปิ้งขนมปัง โทรศัพท์กับเส้นใยนำแสง สามารถใช้กับฟิล์มถ่ายรูปบางชนิดได้

6. ประโยชน์ของรังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays) การใช้รังสีอัลตราไวโอเลตเปลี่ยนสีผิว การเปลี่ยนรังสีอัลตราไวโอเลตเป็นแสง

Ultraviolet rays http://www.flybusters.co.nz/index.html?pathname=/traps/mosquito.html

7.ประโยชน์ของรังสีเอกซ์ (X-rays) มีประโยชน์ทางการแพทย์ในการตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย ในวงการอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจหารอยร้าวภายในชิ้นส่วนโลหะขนาดใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนหรือระเบิดในกระเป๋าเดินทาง ศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมในผลึก การถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์

x-ray http://www.answers.com/topic/x-ray http://www.rajivshah.com/camera/archives/2005/05/

8. ประโยชน์ของรังสีแกมมา ( Ү - rays) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ สามารถกระตุ้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ มีอำนาจทะลุทะลวงสูง ฆ่าเชื้อแบคทีเรียด้วยรังสีแกมมา ฆ่าเซลล์มะเร็งด้วยรังสีแกมมา

Gamma Rays http://hps.org/publicinformation/ate/q1044.html http://www.spacetoday.org/DeepSpace/Telescopes/GreatObservatories/Compton/Compton.html http://hps.org/publicinformation/ate/q1044.html

References พูนศักดิ์ อินทวี และจำนง ฉายเชิด. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547. 262 หน้า. http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/saowalak/spectrum/spectrum.htm

Thank you Miss Lampoei Puangmalai Department of science St. Louis College Chachoengsao

http://ychenie.net/