วิทยาการระบาด (EPIDEMIOLOGY)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
การดูแลระยะตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
วิทยาการระบาดอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ระบาดวิทยา (Epidemiology)
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การใช้ระบาดวิทยา สำหรับผู้บริหาร
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
Tuberculosis วัณโรค.
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
Introduction to Epidemiology
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
โครงการนำร่อง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มแรงงาน
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ระบาดวิทยา Epidemiology.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
MAP TA PHUT HEALTH DATABASE (RAYONG COHORT STUDY).
โรคเบาหวาน ภ.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาการระบาด (EPIDEMIOLOGY) สุมัทนา กลางคาร

ความเป็นมาของวิทยาการระบาด สมัยก่อนยังไม่มีการค้นพบเชื้อโรค การศึกษาใช้วิธีสังเกต (Observational) เปรียบเทียบ ผู้ป่วย/ไม่ป่วย สถานที่เกิดโรค/ปลอดโรค

ปัญหาที่ควบคุมได้ในอดีต อหิวาตกโรคในกรุงลอนดอน ไข้ทรพิษ (ฝีดาษ) การติดเชื้อหลังคลอด การขาดวิตามินซีในกลาสีเรือ

วิทยาการระบาด หรือ ระบาดวิทยา ? โรคระบาด (Epidemic disease) โรคติดต่อ (Communicable disease) โรคไม่ติดต่อ (Non-communicable disease) โรคไร้เชื้อ (Non-infectious disease) โรคเรื้อรัง (Chronic disease) โรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational disease) โรคจากสิ่งแวดล้อม (Environmental disease)

EPIDEMIOLOGY EPI = on, upon DEMOS = people, population LOGOS = knowledge, study doctrine, discourse science

Evolution of Definition The science or doctrine of epidemics (New standard Dictionary of English Language) The science of infective diseases, their prime causes, propagation and prevention (Stallybrass) The study of conditions known or reasonably supposed to influence the prevalence of disease (Lumsden)

Modern Meaning Epidemiology is the science which concerns itself with the natural history of disease as it is expressed in groups of persons related by some common factors of age, sex, race, location or occupation as distinct from the development of disease in an individual (American Epidemiological Society) Epidemiology is the study of patterns of disease and the factors that cause disease in man (CDC) Epidemiology is the study of the distribution and determinants of disease frequency in man (MacMahon & Pugh)

Epidemiology Epidemiology is the study of the occurrence, distribution, determinants (which are dynamic) of health problems and disease in human populations or communities

ความหมาย การศึกษาเกี่ยวกับการกระจายหรือตัวกำหนดของภาวะสุขภาพในมนุษย์

วัตถุประสงค์การศึกษา เพื่อทราบการกระจายของโรคในชุมชน เพื่อทราบสาเหตุหรือปัจจัยเกิดโรค เพื่ออธิบายธรรมชาติของการเกิดโรค เพื่อเป็นแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค เพื่อการวิจัย

ประโยชน์ของวิทยาการระบาด ใช้ในการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของการเกิดโรคในชุมชน ใช้ในการวินิจฉัยชุมชน ใช้ในการรักษาและป้องกันโรค ใช้ในการค้นหาโรคในระยะเริ่มแรก ใช้ในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรค

ประโยชน์ของวิทยาการระบาด ใช้วางแผนการบริการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข ใช้ช่วยในการจำแนกโรค ใช้ประเมินผลโครงการสาธารณสุขต่าง ๆ ใช้ในการวิจัย ใช้ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศ

โยงใยการปฏิบัติงานทางระบาดวิทยา (Web of Practical Epidemiology) การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Epidemiology surveillance) ข้อมูล (Data) นำเสนอ (Data presentation) วิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis) รายงาน (Report) จัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority setting) โรค - โรคติดเชื้อ - โรคไม่ติดเชื้อ ภัย การเกิด (Occurrence) What When Where Who (Data ana. Presen.) นำเสนอผล ผิดปกติ ไม่ผิดปกติ ระบาดวิทยา เชิงพรรณนา(Descriptive epidemiology) ประเมินผลการปฏิบัติงาน (Evaluation) ระบาดวิทยา (Epidemiology) เวลา (Time) สถานที่ (Place) บุคคล (Person) การกระจาย (Distribution) การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Investigation) สิ่งกำหนด (Determinace) A เปลี่ยนแปลง H เปลี่ยนแปลง E เปลี่ยนแปลง Why How บันทึกข้อมูล (Record) รายงานการระบาดนอกระบบ ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์/ทดลอง (Analytical/Experimental epidemiology) ควบคุมกำกับ (Monitoring) ดำเนินการแก้ไขปัญหา (Implementation) วางแผนแก้ไขปัญหา (Planning) องค์ความรู้ (Body of knowledge) ทบทวนวรรณกรรม (Literature review) วิเคราะห์ปัญหา (Problem analysis)

ธรรมะกับวิทยาการระบาด ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค “อริยสัจ 4”

ปัจจัยของการเกิดโรค สิ่งก่อโรค (Agent) A คน (Host) H สิ่งแวดล้อม (Environment) E

สิ่งแวดล้อม สิ่งก่อโรค คน สิ่งแวดล้อม

ปฏิกิริยาของ A, H, E ; Dr. John Gordon สมดุล A H E

ปฏิกิริยาของ A, H, E ; Dr. John Gordon Agent เปลี่ยน

ปฏิกิริยาของ A, H, E ; Dr. John Gordon Host เปลี่ยน

ปฏิกิริยาของ A, H, E ; Dr. John Gordon Environment เปลี่ยน

ปฏิกิริยาของ A, H, E ; Dr. John Gordon Environment เปลี่ยน

ธรรมชาติของการเกิดโรค มี 2 ระยะ ระยะก่อนเกิดโรค ระยะเกิดโรค - ระยะก่อนมีอาการ - ระยะปรากฏอาการ (Mild, Moderate, Severe) - ระยะสูญเสียสมรรถภาพ

ผลภายหลังเจ็บป่วย Cure (หายขาด) Chronic (เรื้อรัง) Relapse (หายไม่ขาด) Disability & Defect (เสียสมรรถภาพและ พิการ) Death (เสียชีวิต)

ธรรมชาติของการเกิดโรคขาดสารอาหาร A : สารอาหาร H : อายุ เพศ สรีรวิทยา นิสัย ... E : ประชากร เศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ พิการ เรื้อรัง โรคขาดสารอาหาร เริ่มมีอาการ ขาดสารอาหาร ผิดปกติ ของการทำงาน ดึงสารอาหารสะสม ได้รับสารอาหารไม่พอทำงานปกติ ระยะก่อนเกิด ระยะเกิดโรค

ธรรมชาติของการเกิดโรคไข้เลือดออก A : ไวรัสเดงกี H : คนทุกกลุ่ม อายุ เพศ E : แมลงนำ โรค (ยุงลาย) ช็อก ตาย ซึม กระสับกระส่าย เลือดออก อวัยวะภายใน จุดเลือดออก ไข้สูง ปวดศีรษะ ได้รับเชื้อไวรัสเดงกี่ ระยะก่อนเกิด ระยะเกิดโรค

ธรรมชาติของการเกิดโรคเบาหวาน A : อินซูลิน H : อายุ เพศ น้ำหนักตัว กรรมพันธุ์ โรคประจำ E : เศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ หัวใจ ตาย อวัยวะบกพร่อง ตามัว แผลหายช้า อาการ ; หิวบ่อย ปัสสาวะบ่อย .. เริ่มมีระดับน้ำตาล ในเลือดสูง อาการปกติ ระยะก่อนเกิด ระยะเกิดโรค