พฤติกรรมผู้บริโภค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การเลือกคุณภาพสินค้า
Lecture 8.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
จงหาค่า A-G MU TU 1 12 A 2 9 B 3 C 26 4 D 5 E F 7 -6 G
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
Group 1 Proundly Present
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.
การแจกแจงปกติ.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมผู้บริโภค

ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Theory of Utility) : ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภค สินค้าและบริการในขณะหนึ่ง : สามารถวัดค่าได้ : หน่วย “ยูทิล” (Util)

ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อ ได้รับข้าวซอยเพิ่มขึ้น จาก 0 เป็น 1 ชาม 1 10 ข้าวซอย (ชาม) ความพอใจ (ยูทิล) - ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อ ได้รับข้าวซอยเพิ่มขึ้น จาก 0 เป็น 1 ชาม 1 10 ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อ ได้รับข้าวซอยเพิ่มขึ้น จาก 1 เป็น 2 ชาม 2 8 ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อ ได้รับข้าวซอยเพิ่มขึ้น จาก 2 เป็น 3 ชาม 3 4 4 5 - 2

ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อได้ข้าวซอยเพิ่มขึ้น 1 ชาม Marginal Utility อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม หรือ อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (Marginal Utility : MU) ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้น จากการบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย

ข้าวซอยทั้งหมด 2 ชาม ให้ความพอใจรวมเท่าใด ข้าวซอยทั้งหมด 2 ชาม ให้ความพอใจรวมเท่าใด - 2 5 4 3 8 2 10 1 - MU (ยูทิล) ข้าวซอย (ชาม) TU (ยูทิล) 10 + 8 = 18 ยูทิล TU : Total Utility (ความพอใจรวม) 10 18 22 22 10 + 8 + 4 + 0 = 22 ยูทิล 20

ความพอใจรวม (Total Utility : TU) : ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) ที่ได้จากการบริโภคสินค้าตั้งแต่หน่วยแรกถึงหน่วยที่กำลังพิจารณาอยู่ TUn = MU1 + MU2 + MU3 + . . . + MUn n TUn =  MUi i = 1

20 22 18 10 TU (ยูทิล) 5 4 3 2 1 ข้าวซอย (ชาม) MU (ยูทิล) - 10 8 4 - 2 TU (ยูทิล) 5 4 3 2 1 ข้าวซอย (ชาม) MU (ยูทิล) - 10 - 0 = 10 ยูทิล 10 18 - 10 = 8 ยูทิล 8 4 - 2 20 - 22 = - 2 ยูทิล

Marginal Utility : MU MUn = TUn - TUn – 1 MUn = TU Q

กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม - 2 4 8 10 - MU (ยูทิล) 20 22 18 TU (ยูทิล) 5 3 2 1 ข้าวซอย(ชาม) MU มีค่าลดลงเมื่อได้บริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม

กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Law of Diminishing Marginal Utility) : เมื่อผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น ทีละหน่วยแล้ว อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) ของสินค้านั้นจะลดลงตามลำดับ

TU Q 5 10 15 20 25 MU -5 4 3 2 1 TU MU

ความสัมพันธ์ของ TU และ MU TU มีค่าสูงสุด เมื่อ MU เท่ากับ “ศูนย์” และ TU จะลดลง เมื่อ MU มีค่าติดลบ

ดุลยภาพของผู้บริโภค เมื่อผู้บริโภคได้รับความพอใจหรืออรรถประโยชน์รวมสูงสุดแล้ว ผู้บริโภคย่อมไม่คิดเปลี่ยนแปลง หรือปรับเปลี่ยนการบริโภคไปจากเดิม ผู้บริโภคอยู่ในภาวะดุลยภาพ

ดุลยภาพของผู้บริโภค 1. กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด 1. กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด 2. กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด 2.1 กรณีมีการซื้อสินค้าชนิดเดียว 2.2 กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิด และราคาสินค้าไม่เท่ากัน

กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด TU สูงสุด เมื่อ MU = 0 กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด จำนวนซื้อ MU (Util) สินค้า A สินค้า B สินค้า C 1 6 4 5 2 3 - 1 - 2 - 4 TU 6 10 13 15 4 6 7 5 5 8 7 3 บริโภค A = 5 ชิ้น , B = 4 ชิ้น , C = 3 ชิ้น TUt = 15 + 7 + 8 = 30 ยูทิล

กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด TUt มีค่าสูงสุดเมื่อ MUA = MUB = . . . = 0

กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าชนิดเดียว กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าชนิดเดียว เปรียบเทียบค่าอรรถประโยชน์ที่เขาได้รับจาก สินค้าหน่วยนั้นๆ กับอรรถประโยชน์ที่จะต้อง สูญเสียไปจากการจ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหน่วยนั้น TU สูงสุดเมื่อ MU ของสินค้านั้น = MU ของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า

เงินที่ใช้ซื้อสินค้า MU ของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า เงินที่ใช้ซื้อสินค้า เงินที่จ่ายซื้อสินค้าแต่ละหน่วย ราคาสินค้า

ถ้า MUm คือ MU ของเงิน 1 หน่วย PA คือ ราคาของสินค้า A MU ของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า A MUm x PA

TU สูงสุดเมื่อ MU ของสินค้านั้น = MU ของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า MUA = MUm x PA MUA = PA (MUm = 1) TU สูงสุดเมื่อ MUA = PA

กรณีซื้อสินค้าชนิดเดียว TU สูงสุดเมื่อ MUA = PA MU , P QA 5 10 15 20 30 40 MUA P = 15 P = 10

กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้า ไม่เท่ากัน เลือกสินค้าที่ให้ค่า MU สูงสุดก่อน แล้วจึงเลือก สินค้าที่ให้ค่า MU ต่ำลงมาจนกว่างบประมาณ จะหมด MU ต่ำลง TU สูงขึ้น

สินค้า A ราคา PA บาท ให้อรรถประโยชน์ = MUA สินค้า B ราคา PB (PA  PB) ราคา 1 บาท สินค้า A ราคา PA บาท ให้อรรถประโยชน์ = MUA PA MUA สินค้า A ราคา 1 บาท ให้อรรถประโยชน์ =

สมมติปากการาคาด้ามละ 2 บาทและดินสอราคาแท่งละ 1 บาท และผู้บริโภคมีเงิน 8 บาท 25 16 5 24 15 4 22 13 3 18 10 2 6 1 TU ดินสอ (แท่ง) ปากกา (ด้าม) จำนวนซื้อ MU 6 4 3 2 1 MU / P MU 10 8 4 2 1 0.5 1 1.5 2 3 1 2 4 8 10 4 1 10 24 5 2 7 3 8 6

ดุลยภาพของผู้บริโภค (TU สูงสุด) เกิดขึ้นเมื่อ PA MUA = = . . . = PB MUB Pn MUn ซื้อปากกา 2 ด้าม และดินสอ 4 แท่ง TUt = 10 + 24 = 34 Util

สมมติปากกามีราคาลดลงเป็น 1 บาท/ด้าม ราคาดินสอเท่าเดิม (1 บาท/แท่ง) และผู้บริโภคมีเงิน 8 บาทเท่าเดิม 25 16 5 24 15 4 22 13 3 18 10 2 6 1 MU / P TU ดินสอ (แท่ง) ปากกา (ด้าม) จำนวนซื้อ 1 2 3 4 6 1 2 4 8 10 15 24

ซื้อปากกา 4 ด้าม และดินสอ 4 แท่ง ดุลยภาพของผู้บริโภค ซื้อปากกา 4 ด้าม และดินสอ 4 แท่ง TUt = 15 + 24 = 39 Util

จุดอ่อนของทฤษฎีอรรถประโยชน์ 1. อรรถประโยชน์ที่มีหน่วยวัดเป็นยูทิลนั้น เป็นเรื่องของความรู้สึกนึกคิด ไม่มีตัวตน ไม่สามารถวัดค่าได้แน่นอน เป็นเพียงการประมาณตัวเลข ซึ่งอาจผิดพลาดได้ 2. ผู้บริโภคมักไม่ได้คำนึงถึงการเปรียบเทียบ อรรถประโยชน์เพิ่มอย่างแท้จริง เพียงแต่อาศัยความเคยชินในการซื้อสินค้าเท่านั้น

จุดอ่อนของทฤษฎีอรรถประโยชน์ 3. ผู้บริโภคไม่สามารถวางแผนที่จะซื้อสินค้าอะไรจำนวนเท่าใด จึงจะได้รับอรรถประโยชน์สูงสุด เนื่องจากภาวะตลาดเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

ให้วาดเส้นอุปสงค์ของสินค้าที่สามารถวาดได้ Quiz กรณี 1 ดุลยภาพของผู้บริโภค ปากการาคา 2 บาท ซื้อได้ 2 ด้าม ดินสอราคา 1 บาท ซื้อได้ 4 แท่ง กรณี 2 ดุลยภาพของผู้บริโภค ปากการาคา 1 บาท ซื้อได้ 4 ด้าม ดินสอราคา 1 บาท ซื้อได้ 4 แท่ง ให้วาดเส้นอุปสงค์ของสินค้าที่สามารถวาดได้

QP = f (PP , PPC , รายได้) โดย PPC , รายได้คงที่ P Demand ของปากกา 1 D 2 4 D Demand ของปากกา QP = f (PP , PPC , รายได้) โดย PPC , รายได้คงที่

ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve) คือ เส้นที่แสดงปริมาณของสินค้า 2 ชนิด ที่จะทำให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่ากัน

y X Indifference Curve แผนการซื้อ สินค้า Y สินค้า X A B C D E F 20 14 9 5 2 1 3 4 y 20 – 15 – 10 – 5 – Indifference Curve X I I I I I 0 1 2 3 4 5

แผนที่เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Map) y IC3 IC2 IC1 X

คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน - เส้นลาดจากซ้ายมาขวา - โค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด - จะตัดกันไม่ได้

y • C B • A • IC2 IC1 X

เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา (Budget line or Price line) คือ เส้นที่แสดงจำนวนต่างๆ ของสินค้า 2 ชนิดที่สามารถซื้อด้วยงบประมาณจำนวนหนึ่งตามที่กำหนดไว้ ณ ราคาตลาดขณะนั้น

สินค้า x ราคา หน่วยละ 100 บาท สินค้า y ราคาหน่วยละ 250 บาท งบประมาณ 1,000 บาท สินค้า x ราคา หน่วยละ 100 บาท สินค้า y ราคาหน่วยละ 250 บาท 1,000 บาท ซื้อสินค้า x ได้ = 10 หน่วย จุด C 1,000 บาท ซื้อสินค้า y ได้ = 4 หน่วย จุด A ถ้าซื้อทั้ง 2 อย่างซื้อ x ได้ = 5 หน่วย y ได้ = 2 หน่วย 1,000100 1,000250 500100 500250

y X 4 – 3 – 2 – 1 – 5 10 I I • A • B • C

เส้นงบประมาณเปลี่ยนแปลงได้จากสาเหตุ รายได้หรืองบประมาณเปลี่ยนแปลง y 4 รายได้ผู้บริโภคเพิ่มขึ้น รายได้ผู้บริโภคลดลง X 10

ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง ราคา x เปลี่ยนแปลง ขณะที่ y คงที่ y 4 ราคา x ลดลง ราคา x เพิ่มขึ้น X 10

ราคา y เปลี่ยนแปลง ขณะที่ x คงที่ 4 ราคา y ลดลง ราคา y เพิ่มขึ้น X 10

• • • • การหาดุลยภาพของผู้บริโภคโดยทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน y X • C • A • E IC3 • B IC1 IC2 จุดดุลยภาพ คือ จุดที่เส้นงบประมาณสัมผัสเส้นความพอใจเท่ากัน คือ จุด E