การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
การเขียนบทความ.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
การเขียน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การสร้างคำถาม.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเขียนผังงาน.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
การเขียนรายงานการวิจัย
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การเขียนโครงการ.
การจัดกระทำข้อมูล.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
“Backward” Unit Design?
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ความคิดรวบยอดสอน อย่างไร : การใช้คำถาม คุณภาพของ คำถาม คำถามมีหลายประเภท คุณภาพ ของคำถามจึงอยู่ที่ ลักษณะของ คำถาม และลักษณะการตั้งคำถาม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ดร.ธ.ธง พวงสุวรรณ tau-tong.pu@east.spu.ac.th 081-3777376 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

ลักษณะแบบทดสอบหลายตัวเลือกที่ดี ข้อคำถามที่เป็นส่วนนำนั้น ควรใช้ภาษาที่ชัดเจน กระทัดรัดได้ใจความ และเรื่องที่ถามควรเป็นเรื่องที่สำคัญเพียงเรื่องเดียวในแต่ละข้อ ตัวคำถามควรใช้ข้อความในเชิงบวก หลีกเลี่ยงการใช้ข้อความเชิงปฏิเสธ แต่ถ้าจำเป็นต้องใชก็ควรขีดเส้นใต้หรือเขียนเป็นตัวเน้นคำที่เป็นปฏิเสธเพื่อให้เห็นชัดเจน และเป็นการเน้นตัวคำถามด้วย ข้อกระทงแต่ละข้อ ควรเป็นอิสระหรือแยกขาดจากกัน ไม่ขึ้นอยู่กับข้ออื่นๆ ในแบบทกสอบชุดนั้นๆ

ลักษณะแบบทดสอบหลายตัวเลือกที่ดี ถ้าข้อคำถามข้อใดที่ต้องอาศัยกราฟ ตาราง ฯลฯ ตัวคำถามและตัวเลือกจะต้องหาจากข้อมูลหรือมีความเกี่ยวเนื่องที่มาจากกราฟหรือตารางประกอบนั้นๆ คำที่จะให้ความหมาย ควรให้อยู่ในตัวคำถาม ส่วนคำจำกัดความให้อยู่ในตัวเลือก ควรหลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลือกประเภท “ถูกทุกข้อ” หรือ “ทุกข้อที่กล่าวมาข้างต้น” หรือ “คำตอบถูกไม่ได้ให้ไว้”

ลักษณะแบบทดสอบหลายตัวเลือกที่ดี การเขียนคำถาม จะต้องระวังไม่ให้คำตอบของข้อหนึ่งสามารถได้มาจากคำถามของอีกข้อหนึ่ง ลักษณะของข้อคำถาม จะต้องไม่ก่อให้เกิดการชี้แนะคำตอบ การจัดเรียงตำแหน่งตัวเลือกที่ถูกของข้อต่างๆ ควรอยู่ในลักษณะสุ่ม

ลักษณะแบบทดสอบหลายตัวเลือกที่ดี ตัวเลือกที่ถูก ควรจะกระจายไปยังลำดับที่ ก ข ค ง หรือ จ ในจำนวนที่ไม่แตกต่างกันนัก การจัดเรียงข้อกระทงความ และการดำเนินการจัดพิมพ์ควรให้อยู่ในรูปแบบเดียวกัน ข้อคำถามข้อหนึ่งควรจะสิ้นสุดในหน้าเดียวกัน ไม่ควรที่จะมีคำถามและตัวเลือกของข้อเดียวกันไปอยู่แยกกันคนละหน้าเพราะจะทำให้ผู้ตอบสับสน

หลักในการสร้างแบบทดสอบอัตนัย เขียนคำสั่งหรือคำชี้แจงให้ชัดเจนว่า แบบทดสอบนั้นต้องการให้ผู้ตอบทำอย่างไร มีเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนอย่างไร ควรถามเฉพาะเรื่องที่สำคัญๆ และเป็นเรื่องที่แบบทดสอบปรนัยอื่นๆ วัดได้ไม่ดีเท่า ควรระบุให้ชัดเจนว่า แบบทดสอบนั้นเป็นแบบจำกัดคำตอบหรือไม่ เพื่อผู้ตอบจะได้วางแผนการตอบได้ถูกต้อง

หลักในการสร้างแบบทดสอบอัตนัย ควรกำหนดขอบเขตของคำถาม เพื่อให้ผู้ตอบเข้าใจจุดมุ่งหมายในการวัดและสามารถตอบได้ตรงประเด็นการวัด เขียนคำถามโดยพิจารณาระดับความยากง่ายและจำนวนข้อให้เหมาะสมกับเวลาที่กำหนดให้เพื่อให้ผู้ตอบสามารถจะตอบได้ครบทุกข้อ ควรกำหนดคะแนนและหลักเกณฑ์ในการให้คะแนนของแต่ละข้อไว้ด้วย

หลักในการสร้างแบบทดสอบอัตนัย ไม่ควรให้มีการเลือกตอบเป็นบางข้อ เพราะอาจมีการได้เปรียบกันเนื่องจากข้อสอบแต่ละข้อมีความยากง่ายไม่เท่ากันและวัดเนื้อหาแตกต่างกัน ไม่ควรถามเรื่องที่ผู้เรียนเคยทำหรือเคยอภิปรายมาก่อน เพราะจะเป็นการวัดความจำ ควรถามในเรื่องที่ผู้เรียนต้องพยายามนำกฎเกณฑ์หรือความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ เขียนคำถามให้ชัดเจนและมีลักษณะเฉพาะเจาะจงว่าให้ต้องการให้ตอบอย่างไร หรือในแง่ใด

หลักในการสร้างแบบทดสอบอัตนัย ถ้าเป็นคำถามที่เป็นประเด็นขัดแย้ง ยังหาข้อยุติไม่ได้ควรมุ่งทดสอบความสามารถในการหาหลักฐานมายืนยันมากกว่าทดสอบอย่างอื่น ไม่ควรจะเน้นว่าถูกหรือผิด ใช่หรือม่ใช่ ควรจะทดสอบการหาเหตุผลมาอธิบายหรือสนับสนุนมากกว่า พยายามใช้คำถามหลายๆ แบบหลีกเลี่ยงคำถามประเภทวัดความรู้ ความจำ ควรใช้คำถามที่วัดสมรรถภาพขั้นสูง

หลักในการสร้างแบบทดสอบอัตนัย พยายามเขียนข้อสอบให้มีจำนวนมากข้อ โดยจำกัดให้ตอบสั้นๆ เพื่อจะได้วัดได้ครอบคลุมเนื้อหาซึ่งจะทำให้แบบทดสอบมีความเชื่อมั่นสูงขึ้น เมื่อเขียนคำถามแล้ว ควรเขียนคำตอบด้วยเพื่อเป็นการตรวจสอบความชัดเจนของคำถาม ถ้าไม่ชัดเจนจะได้ปรับปรุงแก้ไขให้ชัดเจนก่อนนำไปใช้จริง ถ้าแบบทดสอบมีจำนวนข้อหลายข้อ ควรจะเรียงลำดับจากง่ายไปหายากเพื่อกระตุ้น จูงใจหรือยั่วยุให้ผู้ตอบอยากตอบมากขึ้น