การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ลอจิกเกต (Logic Gate).
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
BC320 Introduction to Computer Programming
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Boolean Algebra วัตถุประสงค์ของบทเรียน
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Boolean Algebra พีชคณิตบูลลีน บทที่ 4.
Introduction to Digital System
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
อาร์เรย์และข้อความสตริง
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการ(Operator)
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
System Analysis and Design
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
ระบบเลขฐาน V.2 ม.6.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การคูณและการหารเอกนาม
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
Nested loop.
การลดรูป Logic Gates.
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลดรูป Logic Gates บทที่ 6

การลดรูป (Simplification) จากวงจร Logic Gates ที่ผ่านมาเราพบว่าวงจรที่ใช้ Logic Gate ทำงาน ถือเป็นการออกแบบ หากออกแบบได้ดีก็ใช้ Gates น้อย ทำให้ลดต้นทุนและประหยัดพลังงาน หากออกแบบไม่ดี จะใช้ Gates จำนวนมาก มีเทคนิคที่สามารถช่วยในการออกแบบให้ใช้ Gates ได้น้อยที่สุด

วิธีการ การลดรูปโดยการใช้สมการพีชคณิต โดยการใช้ทฤษฎีของ Boolean Algebra ทำได้ยาก เพราะต้องใช้ทักษะสูง การใช้แผนภาพคานอร์ (Karnaugh Map) ใช้เทคนิคของแผนภาพ เหมือน Venn Diagram มีข้อจำกัดคือใช้ได้กับตัวแปรเพียง 6 ตัวเท่านั้น ในที่นี้จะกล่าวถึงเพียง Karnaugh Map เท่านั้น

Karnaugh Map เป็นแผนภาพที่ใช้หาผลรวมของการคูณของนิพจน์บูลลีน เหมาะแก่การคำนวณตัวแปรไม่มาก ใช้ช่องสี่เหลี่ยมในการทำงาน จำนวนช่องเท่ากับ 2n (n = จำนวนตัวแปร , มีค่า 2 ยกกำลัง n) หาผลคูณแล้วนำมาบวกกัน

การเขียนแบบ 2 ตัวแปร เขียนได้หลายแบบ แบบที่นิยมเขียนได้แก่                                                                                                                 

ใส่ค่าลงไปในช่อง สมมุตว่าเราต้องการหา Logic Gates จากสมการนี้ มี Output 2 ตัว เราก็นำค่าไปใส่ในช่อง K. Map (หน้าถัดไป) X Y Sum Carry 1

การใส่ค่าใน K. Map ใส่ค่าให้ตรงช่องของ X, Y หาค่าผลลัพธ์โดยดึงค่าจากช่องที่มี 1                                             

การรวมกลุ่ม (Grouping) ใช้ในการลดรูปโดย นำ 1 มา Group กันเป็นกลุ่มละ 2n เช่น 2,4,8,… สามารถ Group ซ้อนกันได้ หรือแม้จะอยู่ติดกันที่ขอบคนละฝั่งหรือมุม                                                                                                               

ตัวอย่างการ Group ที่ผิด                                    

ตัวอย่าง F=X'Y+XY วาดตาราง ใส่ค่าลงไป แล้วทำการ Grouping F = Y                      

อีกตัวอย่าง F=X’Y+XY+XY' จะได้ F = X + Y                       

K. Map แบบ 3 ตัวแปร จะมีช่องจำนวน 8 ช่อง หรือเขียนดังนี้                                                

ตัวอย่างการนำไปใช้ F = XYZ’+XYZ+X’YZ  ดังนั้น จะได้ F = XY + YZ

K. Map แบบ 4 ตัวแปร จะมีทั้งหมด 16 ช่อง                                                                                  

ตัวอย่าง F(W,X,Y,Z) = (1,5,12,13) (หมายเลขคือหมายเลขช่อง) จะได้ F = WY'Z + W'Y'Z                                           

อีกตัวอย่าง F(W,X,Y,Z) = (4, 5, 10, 11, 14, 15) จะได้ F = W'XY' + WY                                 

K. Map แบบ 5 ตัวแปร มีจำนวนช่องทั้งหมด 32 ช่อง                                                                     

แบบฝึกหัด ส่งใน ชั่วโมง จงทำการลดรูปด้วย Karnaugh Map และวาดรูปวงจรออกมา ทั้งก่อนและหลังการลดรูป F = X + XY’ F = XY’ + X’Y’ + X’Y F = X’Y’ + XY’ F = X’.Y’.Z + X’.Y.Z + X.Y.Z’ F = X’YZ + Y’Z + X’YZ’ F = XYZ + X’Y’Z ส่งใน ชั่วโมง