อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริโภค การออม และการลงทุน
พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply

อุปสงค์ (Demand) อุปสงค์ต่อสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง : ปริมาณสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ กัน ของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นๆ ในระยะเวลาที่กำหนด

ความต้องการซื้อที่มีอำนาจซื้อ WANT  DEMAND

ชนิดของอุปสงค์ อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องกับสินค้าที่กำลังพิจารณา หรือ อุปสงค์ไขว้ (Cross Demand)

อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) ปริมาณสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ กันของสินค้าและบริการชนิดนั้นภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง

อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) ปริมาณสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับรายได้ต่างๆ กันของผู้บริโภคภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง

อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องกับสินค้าที่กำลังพิจารณา หรือ อุปสงค์ไขว้ (Cross Demand) ปริมาณสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ กัน ของสินค้าและบริการชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง ภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง

อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand)

Law of Demand ปริมาณสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ ผู้บริโภคต้องการซื้อ จะมีความสัมพันธ์ในเชิง ผกผันกับราคาของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ เมื่อกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ P Q P Q เมื่อกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่

สาเหตุที่ปริมาณซื้อแปรผกผันกับราคา ผลทางด้านรายได้ (Income effect) ผลทางการทดแทน (Substitution effect)

ผลทางด้านรายได้ (Income effect) การเปลี่ยนแปลงของรายได้ที่แท้จริง (Real Income) รายได้ที่แท้จริง : จำนวนสินค้าที่ผู้บริโภคได้รับ

ผลทางด้านรายได้ (Income effect) วันที่ 1 แม่ให้เงินมา 100 บาท ก๋วยเตี๋ยวชามละ 10 บาท (P) ซื้อก๋วยเตี๋ยวได้ 10 ชาม (Q)

วันที่ 2 แม่ให้เงินมา 100 บาท รายได้ที่แท้จริงลดลง ก๋วยเตี๋ยวชามละ 50 บาท (P ) ซื้อก๋วยเตี๋ยวได้ 2 ชาม (Q )

วันที่ 3 แม่ให้เงินมา 100 บาท รายได้ที่แท้จริงเพิ่มขึ้น ก๋วยเตี๋ยวชามละ 5 บาท (P ) ซื้อก๋วยเตี๋ยวได้ 20 ชาม (Q )

ผลทางด้านรายได้ (Income effect) เมื่อรายได้ที่เป็นตัวเงิน (Money Income) คงที่ ถ้า P Q Real Income

ผลทางการทดแทน (Substitution effect) อุปสงค์ต่อนม กำหนดให้น้ำเต้าหู้ใช้ทดแทนนมได้ Pนม (Pเต้าหู้ คงที่) คนจะมีความรู้สึกว่านมแพงขึ้น Qนม

คนจะมีความรู้สึกว่านมราคาถูกลง Pนม (Pเต้าหู้ คงที่) คนจะมีความรู้สึกว่านมราคาถูกลง Qนม อุปสงค์ต่อนม กำหนดให้น้ำเต้าหู้ใช้ทดแทนนมได้

ตารางอุปสงค์ และเส้นอุปสงค์ บัญชีหรือตารางปริมาณสินค้าในระดับต่างๆ ที่ผู้บริโภคต้องการและสามารถซื้อได้ ณ ระดับราคาต่างๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง โดยปัจจัยอื่นๆ คงที่

อุปสงค์ของผู้บริโภคที่มีต่อนมใน 1 สัปดาห์ 20 5 16 10 12 15 8 25 ปริมาณ (Q) (ลิตร/สัปดาห์) ราคา (P) (บาท/ลิตร) P Q

D เส้นอุปสงค์ มีค่าความชันเป็นลบ 25 15 8 12 P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 ราคา (P) ปริมาณ (Q) 25 8 20 10 15 12 16 5 เส้นอุปสงค์ มีค่าความชันเป็นลบ 25 15 D 8 12

อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด (Individual Demand and Market Demand) : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภค แต่ละคน ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้านั้น อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใดๆ (Market Demand) : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคน ในตลาดเต็มใจที่จะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ

ปริมาณซื้อ (ลิตร/สัปดาห์) 20 + 12 = 32 16 + 10 = 26 12 + 8 = 20 10 + 4 = 14 8 + 0 = 8 12 10 8 4 20 16 5 15 25 ปริมาณซื้อรวม ข ก ปริมาณซื้อ (ลิตร/สัปดาห์) ราคานม (บาท/ลิตร)

อุปสงค์ส่วนบุคคลของ ก และ ข 5 15 10 20 25 30 P Q Dก Dข DM 16 26 อุปสงค์ตลาด อุปสงค์ส่วนบุคคลของ ก และ ข

ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ (Determinants of Demand) ปัจจัยโดยตรง ปัจจัยโดยอ้อม : ราคาของสินค้าชนิดนั้น

ปัจจัยโดยอ้อมที่สำคัญ ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รายได้ของผู้บริโภค รสนิยมของผู้บริโภค จำนวนประชากร การคาดคะเนราคาและปริมาณสินค้าในอนาคต ฤดูกาล สภาพการกระจายรายได้ในระบบเศรษฐกิจ

ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการซื้อสินค้าชนิด หนึ่งกับราคาสินค้าอีกชนิดหนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Substitution Goods) สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary Goods)

สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Substitution Goods) อุปสงค์ต่อนม นมและน้ำเต้าหู้เป็นสินค้าที่ใช้ ทดแทนกันได้ ถ้าราคานมคงที่ แต่ราคาน้ำเต้าหู้เพิ่มขึ้น Pเต้าหู้ Q เต้าหู้ Q นม เป็นสินค้า ทดแทนกัน กฏของอุปสงค์

ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงบวก เมื่อสินค้า 2 ชนิดเป็นสินค้าทดแทนกัน Pเต้าหู้ Q นม Q เต้าหู้

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary Goods) นมและขนมปังเป็นสินค้าที่ใช้ ประกอบกัน อุปสงค์ต่อนม ถ้าราคานมคงที่ แต่ราคาขนมปังเพิ่มขึ้น Q ขนมปัง Q นม Pขนมปัง เป็นสินค้า ประกอบกัน กฏของอุปสงค์

Pขนมปัง Q ขนมปัง Q นม ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงลบ เมื่อสินค้า 2 ชนิดเป็นสินค้าประกอบกัน

รายได้ของผู้บริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการซื้อสินค้าชนิด หนึ่งกับรายได้ของผู้บริโภค สินค้าปกติ (Normal Goods) สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods)

สินค้าปกติ (Normal Goods) อุปสงค์ต่อนม นมเป็นสินค้าปกติ ราคานมคงที่ รายได้ Q นม รายได้ Q นม ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงบวก เมื่อสินค้านั้นเป็นสินค้าปกติ

สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) อุปสงค์ต่อการใช้บริการรถเมล์ ราคาค่าบริการรถเมล์คงที่ รายได้ Q รถเมล์ รายได้ Q รถเมล์ ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงลบ เมื่อสินค้านั้นเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ

ฟังค์ชั่นอุปสงค์ (Demand Function) การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือปัจจัยต่างๆ ที่มีอำนาจในการกำหนดปริมาณซื้อ QX = f (PX, PY, Y, A1, A2,…) QX = f (PX) เมื่อปัจจัยอื่นๆ คงที่ เมื่อ a, b > 0 Qx = a – bPx

การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in Qunatity Demand) การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์หรือการย้ายเส้นอุปสงค์ (Shifts in the Demand Curve)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in Qunatity Demand) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้ออันเนื่องมาจากปัจจัยโดยตรงหรือราคาสินค้านั้น โดยปัจจัยที่มีผลโดยอ้อมทั้งหลายนั้นสมมติว่ามีค่าคงที่

การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ เดิม P = 15  Q = 12 B C P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 16 เส้นอุปสงค์ไม่เปลี่ยนแปลง 12 A ใหม่ P = 20  Q = 10 ใหม่ P = 10  Q = 16

การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์หรือการย้าย เส้นอุปสงค์ (Shifts in the Demand Curve) ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์โดยอ้อมตัวใดตัวหนึ่ง หรือหลายตัวเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลง ในขณะที่ราคาสินค้านั้นคงเดิม ซึ่งจะมีผลทำให้เส้นอุปสงค์เดิมเลื่อนไปทั้งเส้น

การย้ายเส้นอุปสงค์ Q P Q อุปสงค์เพิ่ม Q อุปสงค์ลด 5 10 15 20 25 20 16 12 10 8 25 20 18 15 12 15 12 8 5 3

D2 P(บาท/ลิตร) Q 10 5 15 20 25 D1 12 18 อุปสงค์เพิ่ม

P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 D1 D2 อุปสงค์ลด

อุปทาน (Supply) อุปทานต่อสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึง “ปริมาณสินค้าหรือบริการชนิดใด ชนิดหนึ่งที่ผู้ขายต้องการขาย ณ ระดับราคาต่างๆ กันของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นๆ ณ ระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ” อุปทานต่อราคา

Law of Supply ปริมาณสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ขายต้องการจะขายจะมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับระดับราคาสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ โดยมีข้อสมมติว่าสิ่งอื่นๆ คงที่ P Q P Q เมื่อกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่

ตารางอุปทาน และเส้นอุปทาน อุปทานของผู้ขายที่มีต่อนมใน 1 สัปดาห์ ราคา (P) (บาท/ลิตร) ปริมาณ (Q) (ลิตร/สัปดาห์) 25 16 20 14 15 12 10 5 8 P Q

เส้นอุปทาน มีค่าความชันเป็นบวก 5 P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 ราคา (P) ปริมาณ (Q) 25 16 20 14 15 12 10 5 8 20 14 เส้นอุปทาน มีค่าความชันเป็นบวก 5 8

อุปทานส่วนบุคคลและอุปทานตลาด (Individual Supply and Market Supply) : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้ขายแต่ละราย ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้านั้น อุปทานตลาดสำหรับสินค้าใดๆ (Market Supply) : อุปทานรวมสำหรับสินค้านั้นของผู้ขายแต่ละคน

ปริมาณขาย (ลิตร/สัปดาห์) ปริมาณขายรวม ข ก ปริมาณขาย (ลิตร/สัปดาห์) ราคานม (บาท/ลิตร) 4 8 5 6 10 12 15 14 20 16 25 16 + 12 = 28 14 + 10 = 24 12 + 8 = 20 10 + 6 = 16 8 + 4 = 12

อุปทานส่วนบุคคลของ ก และ ข 5 15 10 20 25 30 P Q 12 8 อุปทานตลาด อุปทานส่วนบุคคลของ ก และ ข Sข Sก SM

ปัจจัยที่กำหนดอุปทาน (Determinants of Supply) ปัจจัยโดยตรง ปัจจัยโดยอ้อม : ราคาของสินค้าชนิดนั้น

ตัวกำหนดโดยอ้อมที่สำคัญ ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง ราคาของปัจจัยการผลิต กรรมวิธีการผลิต จำนวนผู้ผลิตหรือผู้ขาย สภาพดินฟ้าอากาศ นโยบายของรัฐ

ฟังค์ชั่นอุปทาน (Supply Function) ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณขายและ ปัจจัยที่กำหนดอุปทาน Qx = f ( Px, B1, B2, … ) Qx = f ( Px )

การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in Qunatity Supplied) การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทานหรือการย้ายเส้นอุปทาน (Shifts in the Supply Curve)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in Qunatity Supplied) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายอันเนื่องมาจากปัจจัยโดยตรงหรือราคาสินค้านั้น โดยปัจจัยที่มีผลโดยอ้อมทั้งหลายนั้นสมมติว่ามีค่าคงที่

การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย เดิม P = 15  Q = 12 ใหม่ P = 25  Q = 16 ใหม่ P = 5  Q = 8 12 15 A 16 8 B C เส้นอุปทานไม่เปลี่ยนแปลง 25 5 P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25

การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทานหรือการย้าย เส้นอุปทาน (Shifts in the Supply Curve) ปัจจัยที่กำหนดอุปทานโดยอ้อมตัวใดตัวหนึ่ง หรือหลายตัวเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ปริมาณขายเปลี่ยนแปลง ในขณะที่ราคาสินค้านั้นคงเดิม ซึ่งจะมีผลทำให้เส้นอุปทานเดิมเลื่อนไปทั้งเส้น

อุปทานเพิ่ม P Q 10 5 15 20 25 S1 12 18 S2

อุปทานลด 12 7 P Q 10 5 15 20 25 S1 S2

ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)

ปริมาณนม (ลิตร/สัปดาห์) Qs - Qd - 20 - 10 10 20 สถานะ Qs 12 16 24 28 32 26 14 8 5 15 25 Qd ปริมาณนม (ลิตร/สัปดาห์) ราคานม (บาท/ลิตร) Shortage สมดุล Surplus การปรับตัวของราคา P เพิ่มขึ้น P คงที่ P ลดลง

P Q 10 5 15 20 25 30 D S จุดดุลยภาพ ราคาดุลยภาพ ปริมาณดุลยภาพ

ราคาดุลยภาพ ระดับราคาที่ปริมาณสินค้าและบริการที่ ผู้บริโภคต้องการซื้อในขณะนั้นเท่ากับจำนวนสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายในขณะเดียวกันนั้นพอดี (Qd = Qs) ปริมาณดุลยภาพ ปริมาณสินค้าและบริการที่ระดับราคาดุลยภาพ

Excess Supply S Qd เพิ่ม Qs ลด D 28 8 Supply > Demand = 28 - 8 = 20 10 5 15 20 25 30 D S 28 8 Excess Supply Qs ลด Qd เพิ่ม = 28 - 8 = 20

S D 26 16 Demand > Supply = 26 - 16 = 10 Excess Demand P Q 10 5 15 10 5 15 20 25 30 D S 26 16 Demand > Supply = 26 - 16 = 10 Excess Demand

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพของตลาด การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางอ้อมต่างๆ 1. กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปสงค์ในขณะที่เส้นอุปทานอยู่คงที่ 1.1 กรณีอุปสงค์เพิ่ม 1.2 กรณีอุปสงค์ลด

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพของตลาด 2. กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปทานในขณะที่เส้นอุปสงค์อยู่คงที่ 2.1 กรณีอุปทานเพิ่ม 2.2 กรณีอุปทานลด

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพของตลาด 3. กรณีทั้งอุปสงค์และอุปทานมีการเปลี่ยนแปลง 3.1 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานเพิ่ม 3.2 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด 3.3 อุปสงค์ลด อุปทานเพิ่ม 3.4 อุปสงค์ลด อุปทานลด

กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปสงค์ในขณะที่เส้นอุปทานอยู่คงที่ 1.1 กรณีอุปสงค์เพิ่ม P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2 Q3 Excess demand

กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปสงค์ในขณะที่เส้นอุปทานอยู่คงที่ 1.2 กรณีอุปสงค์ลด P Q D1 S1 E1 P1 Q1 Excess supply D2 E2 Q3 P2 Q2

กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปทานในขณะที่เส้นอุปสงค์อยู่คงที่ 2.1 กรณีอุปทานเพิ่ม P Q D1 S1 E1 P1 Q1 S2 Excess supply E2 Q3 P2 Q2

กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปทานในขณะที่เส้นอุปสงค์อยู่คงที่ 2.2 กรณีอุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 E2 P2 Q2 Q3 Excess demand

3.1 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานเพิ่ม 3.2 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด 3. กรณีทั้งอุปสงค์และอุปทานมีการเปลี่ยนแปลง 3.1 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานเพิ่ม 3.2 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด 3.3 อุปสงค์ลด อุปทานเพิ่ม 3.4 อุปสงค์ลด อุปทานลด 3.2 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด

3.2 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด 3.2 อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม > อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม < อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม = อุปทานลด

3.2 อุปสงค์เพิ่ม > อุปทานลด 3.2 อุปสงค์เพิ่ม > อุปทานลด S2 D2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 E2 P2 Q2

3.2 อุปสงค์เพิ่ม < อุปทานลด 3.2 อุปสงค์เพิ่ม < อุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2

3.2 อุปสงค์เพิ่ม = อุปทานลด 3.2 อุปสงค์เพิ่ม = อุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2

การเข้าแทรกแซงตลาดของรัฐบาล

การเข้าแทรกแซงตลาดของรัฐบาล การประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support or Minimum Price) การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)

การประกันราคาขั้นต่ำ ระบบราคาทำให้สินค้ามีราคาต่ำมากเกินไป รัฐบาลเข้ามาแทรกแซง ประกันราคา ราคาประกันหรือราคาขั้นต่ำ ต้องสูงกว่าราคาดุลยภาพเสมอ

1. การประกันราคาขั้นต่ำโดยรัฐบาลรับซื้ออุปทาน ส่วนเกิน : การที่รัฐบาลประกาศราคาประกัน และใช้ กฏหมายบังคับให้ผู้ซื้อทุกรายซื้อสินค้าในราคาประกันนั้น มิฉะนั้นจะมีความผิดตามกฏหมาย

รัฐใช้งบประมาณ = 30 x (150 - 50) = 3,000 P Q 100 D S 20 30 150 50 Excess supply รัฐใช้งบประมาณ = 30 x (150 - 50) = 3,000

: รัฐกำหนดราคาขั้นต่ำไว้ แต่จะปล่อยให้ซื้อขายกันตามกลไกราคาปกติ 2. การประกันราคาขั้นต่ำโดยรัฐบาลจ่าย เงินอุดหนุนให้แก่เกษตรกร : รัฐกำหนดราคาขั้นต่ำไว้ แต่จะปล่อยให้ซื้อขายกันตามกลไกราคาปกติ

รัฐใช้งบประมาณ = (30 - 20) x 100 = 1,000 P Q 100 D S 20 รัฐใช้งบประมาณ = (30 - 20) x 100 = 1,000 30 100

ราคาขั้นสูงหรือราคาควบคุม ต้องต่ำกว่าราคาดุลยภาพเสมอ การกำหนดราคาขั้นสูง ระบบราคาทำให้สินค้ามีราคาสูงมากเกินไป รัฐบาลเข้ามาแทรกแซง ราคาควบคุม ราคาขั้นสูงหรือราคาควบคุม ต้องต่ำกว่าราคาดุลยภาพเสมอ

S D ราคาในตลาดมืด Excess demand P (บาท) Q (ล้านหน่วย) 15 300 400 200 5 15 300 ราคาในตลาดมืด 400 200 5 25 Excess demand Q ที่มีการขายจริง

แบบทดสอบครั้งที่ 1 “เศรษฐศาสตร์ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตความเป็นอยู่ของนาย ก หากนาย ก อยู่คนเดียวบนเกาะร้าง” ท่านเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด อธิบาย 2. การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ (shift in demand) และการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (change in quantity demand) แตกต่างกันอย่างไร อธิบายพร้อมทั้งแสดงรูปประกอบ