Sociology of Development

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การพัฒนาสังคม Social Development 3 : 2 ธ.ค. 54.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
Good Corporate Governance
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
Evaluation of Thailand Master Plan
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่1 การบริหารการผลิต
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Sociology of Development 01460441 สังคมวิทยาการพัฒนา Sociology of Development 4 : 27 พ.ย. 53

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Quality of Life : Wealth = Rich พิจารณา : เชิงคุณภาพ = เชิงประมาณ

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาทั่วไป “การสร้างสรรค์ประเทศให้มีความเจริญ” ทำให้ประเทศ : - เสถียรภาพ - ความมั่นคง - ประชาชนมีความเป็นอยู่/คุณภาพชีวิตที่ดีตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับสังคมนั้น

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Dudley Seers : “The Meaning of Development” เสนอ 2. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเบื้องต้น 2.1. ขจัดความไม่รู้ : ภาวะขาดการศึกษา ความไม่รู้ ความโง่ของประชาชนเป็นอุปสรรคการพัฒนาประเทศ ความรู้/ความฉลาดจะเป็นโครงสร้างพื้นฐาน (Basic Structure/Pattern)

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2. 2 ขจัดความยากจน : ประชาชนในประเทศต้องมีงานรายได้เพื่อประทังชีพ งานเป็นศักดิ์ศรี (Dignity) ของทรัพยากรมนุษย์อย่างน้อย หัวหน้าครอบครัวต้องมีงาน การขจัดความยากจนเป็นการสร้างศักยภาพของมนุษย์ (Human Potential) ความยากจนประชาชนเป็น 25% ทำให้เกิดปัญหาการพัฒนา

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2.3. ขจัดเจ็บป่วย : ประชาชนสุขภาพไม่ดีย่อมเอื้อต่อกัน/ เกี่ยวกับปัญหาอื่นๆ จึงต้องเสริมสร้างความสมบูรณ์และเข้มแข็งทั้ง ร่างกาย & จิตใจ 2.4. ขจัดอยุติธรรม : แก้ไขการเอารัดเอาเปรียบคุณธรรม & จริยธรรมเป็นพื้นฐานสังคมมนุษย์ ความไม่ยุติธรรมก่อให้เกิดความขัดแย้งเอารัดเอาเปรียบ แก่งแย่งและความแตกต่างการใช้ความรุนแรง ความขัดแย้ง การใช้ความรุนแรง ปฏิวัติ การเปลี่ยนแปลง

3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- reliance) ทั้งระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ 3.2 ความสามารถในเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : ความก้าวหน้าในแง่ความเข้าใจ การคิดค้น ประดิษฐ์และการ ประยุกต์ใช้

3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ ทางกายภาพ ชีวภาพและมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.4. การกระจายอำนาจ : การบริหาร การพัฒนาใน การกระจายอำนาจอาจจะเกิดทั้ง - แง่ + ระดมความคิดและร่วมมือระดับล่าง - แง่ - อาจล่าช้าเพราะผ่านขั้นตอน

เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย การพิจารณาการกระจายอำนาจ 1. ขอบเขตและการตัดสินใจ 2. การกำหนดนโยบายต่างๆ 3. การใช้จ่ายและการควบคุมการคลัง 4. การบังคับบัญชาบุคลากร 5. การจัดการและรูปแบบการบริหาร 3.5 การกระจายผลประโยชน์ : ทุกในแง่ประโยชน์จาก บริการสาธารณะ (Public Interest) เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. การเสริมสร้างความมีเหตุผล : การพยายามให้ผู้อื่นเกิดความรู้อย่างมีเหตุผล : การใช้ปัญญาให้ เกิดการพัฒนา การพัฒนาโดยใช้ภูมิปัญญา 2. การวางแผนอย่างมีเป้าหมาย : การมองการณ์ไกล : การยอมรับความก้าวหน้าและนวัตกรรม 3. ทัศนคติที่ดี “ชีวิต” และ “งาน” : การที่มีทัศนคติที่ดี สร้างสิ่งที่ดี หรือมองผู้อื่นด้วยดี : พิจารณาคุณค่าและให้คุณค่าที่ดีต่องาน ชีวิต และผู้อื่น

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 4. การสร้างสถาบันที่มีความชำนาญ : การพัฒนาสถาบัน/องค์กรที่มีความชำนาญ : สร้างงาน ให้งานกับผู้ที่มีความสามารถ และสร้างสถาบัน/องค์กรที่ดีตามความชำนาญ 5. ประสิทธิภาพการผลิต/ดำเนิงาน: การประกอบกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ : สร้างประสิทธิภาพการผลิต/ทำงานจะมีผลต่อการใช้ทรัพยากรและการพัฒนา Input Process/System Output สมดุล ด้อยพัฒนา พัฒนา Input = Output Input > Output Input < Output

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 6. การเพิ่มผลผลิต/ผลงาน การยกระดับด้วยการเพิ่มผลผลิต/ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในผลงานที่รับผิดชอบให้ดีขึ้น 7. โอกาสการได้รับบริการสาธารณะ ความเสมอภาคในโอกาสการได้รับบริการสาธารณะ : พิจารณาโอกาส เงื่อนไข และการยกเว้น 8. ประชาธิปไตยระดับ “รากหญ้า” วิถีทางประชาธิปไตยในการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย : สามารถยอมรับความแตกต่างและการมีเหตุผล

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 9. การสร้างความเข้มแข็งของชาติ ผลประโยชน์ของสังคม/ประเทศเป็นหลัก : การให้ความ สำคัญต่อผลประโยชน์โดยรวมของทุกคนในสังคมและประเทศ 10. ความมีวินัยของสังคม สร้างเสริมวินัยบุคคลในประเทศ : วินัยการดำรงชีวิต/ประกอบอาชีพ (จริยธรรม/จรรยาบรรณ) 13

ปรัชญาพื้นฐานการพัฒนา บุคคลมีความแตกต่างและมีเอกลักษณ์ บุคคลมีสิทธิและกำหนดวิถีชีวิตตนเอง บุคคลสามารถเรียนรู้ บุคคลมีความคิดริเริ่ม บุคคลความสามารถพัฒนาขีดความสามารถของชุมชน

ปรัชญาแห่งการพัฒนา มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด เพราะมีความสามารถและพลัง ซ่อนเร้น ศรัทธาในความยุติธรรมของสังคม เพื่อขจัดความขัดแย้งและความ เหลื่อมล้ำในสังคม ความไม่รู้ ความดื้อรั้นและการใช้กำลังเป็นอุปสรรคสำคัญในการ พัฒนา

วิกฤตการแห่งการพัฒนา คำประกาศประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา Truman หลังสงครามโลก II 1945 การตั้งองค์การสหประชาชาติ 1943 ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศที่ร่ำรวย/พัฒนาแล้วช่วยเหลือประเทศยากจน/ด้อยพัฒนา ประเทศสหรัฐอเมริกามีบทบาทมาก ประเทศทุกประเทศทั่วโลกมีความเท่าเทียมกัน คำประกาศประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา Truman หน้าที่ประเทศพัฒนาแล้วต้องช่วยเหลือประเทศด้อยพัฒนา

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ประเทศโลกที่ 1 = ประเทศเสรีนิยมอุตสาหกรรม การแบ่งกลุ่มประเทศ เชิงการเมือง ประเทศโลกที่ 2 = ประเทศสังคมนิยม ประเทศโลกที่ 3 = ประเทศ ด้อยการพัฒนา แนวทางความช่วยเหลือ แนวทางเสรีนิยมประชาธิปไตย องค์กรระดับโลกทำหน้าที่ เศรษฐกิจและการเงิน - องค์การสหประชาชาติ เทคนิคและเชี่ยวชาญ - ธนาคารโลก ทหารและการเมือง - กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความช่วยเหลือปรับปรุงโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต ธนาคารโลก ความช่วยเหลือทางเทคนิค ด้านผู้เชี่ยวชาญ คำขอความช่วยเหลือ ประเทศโลกที่ 3 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศสำคัญ ความช่วยเหลือให้แก่ประเทศ ทั่วไป : ขัดข้องเงินทุนสำรอง สกุลดอลลาร์สหรัฐฯ

ระดับการพัฒนา ปัญหาสะสมและรุนแรง วิกฤตการแห่งการพัฒนา เร่งรัดอุตสาหกรรมเป็นแกนนำ การสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ Modernization Theory สร้างความเป็นเมือง ปรับระบบการบริหาร ระดับการพัฒนา ปัญหาสะสมและรุนแรง - ความเหลื่อมล้ำและแตกต่าง เศรษฐกิจขยายตัว เมืองเติบโตรวดเร็ว - การพึ่งพาต่างประเทศ การบริการเพิ่มขึ้น - ความถดถอยของประเทศ

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ(Economic) ภาวะการพึ่งพา ทางเศรษฐกิจ(Economic) - การผูกขาดทางการตลาด ผู้ประกอบการในประเทศ เติบโตค่อนข้างช้า ทางการเมือง (Political) - การดำเนินนโยบาย - การแทรกแซง

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - ลักษณะเฉพาะทาง ความสัมพันธ์ทางการเมือง ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - คุณลักษณะทางวัฒนธรรม และจริยธรรมของประเทศ Concrete Situations - ความเป็นมาและพัฒนาการสังคม - พื้นฐานระบบการผลิตและความชำนาญ - ระบบสังคม วัฒนธรรมและการเมือง

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความมุ่งหมายประเทศกำลังพัฒนา - ศักยภาพการพึ่งตนเอง (Self-reliance) - ขีดความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่าง : - ระบบเศรษฐกิจ - เพิ่มอำนาจการเจรจาต่อรอง บรรษัทข้ามชาติ/ทุนนิยม - ระบบสังคม - ภาวะพึ่งพากันปราศจากการ ครอบงำและขูดรีด (Interdependence) - ระบบการเมือง - ระบบวัฒนธรรม - ระบบทรัพยากร

วิกฤตการแห่งการพัฒนา - รายได้ไม่ใช่สิ่งสำคัญต่อ การพัฒนา การเปลี่ยนแปลง ความคิด - อุตสาหกรรมไม่ได้เป็นแนวทาง การพัฒนา ความหมายการพัฒนา ที่แท้จริง - กลไกการตลาดไม่ใช่นำไปสู่ การพัฒนาที่ดีเสมอ การพัฒนาเมือง = การพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม = การพัฒนาเกษตรกรรม เทคโนโลยีชั้นสูง = เทคโนโลยีพื้นฐาน ความสมดุล = ความแตกต่าง

ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ วิกฤตการแห่งการพัฒนา บริบทพื้นฐานแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ ดุลยภาพทางสังคม ดุลยภาพที่เกื้อกูลและ ไม่เกิดความขัดแย้ง กันและกัน ดุลยภาพทางเศรษฐกิจ ดุลยภาพทางสิ่งแวดล้อม