Sociology of Development 01460441 สังคมวิทยาการพัฒนา Sociology of Development 4 : 27 พ.ย. 53
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Quality of Life : Wealth = Rich พิจารณา : เชิงคุณภาพ = เชิงประมาณ
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาทั่วไป “การสร้างสรรค์ประเทศให้มีความเจริญ” ทำให้ประเทศ : - เสถียรภาพ - ความมั่นคง - ประชาชนมีความเป็นอยู่/คุณภาพชีวิตที่ดีตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับสังคมนั้น
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Dudley Seers : “The Meaning of Development” เสนอ 2. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเบื้องต้น 2.1. ขจัดความไม่รู้ : ภาวะขาดการศึกษา ความไม่รู้ ความโง่ของประชาชนเป็นอุปสรรคการพัฒนาประเทศ ความรู้/ความฉลาดจะเป็นโครงสร้างพื้นฐาน (Basic Structure/Pattern)
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2. 2 ขจัดความยากจน : ประชาชนในประเทศต้องมีงานรายได้เพื่อประทังชีพ งานเป็นศักดิ์ศรี (Dignity) ของทรัพยากรมนุษย์อย่างน้อย หัวหน้าครอบครัวต้องมีงาน การขจัดความยากจนเป็นการสร้างศักยภาพของมนุษย์ (Human Potential) ความยากจนประชาชนเป็น 25% ทำให้เกิดปัญหาการพัฒนา
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2.3. ขจัดเจ็บป่วย : ประชาชนสุขภาพไม่ดีย่อมเอื้อต่อกัน/ เกี่ยวกับปัญหาอื่นๆ จึงต้องเสริมสร้างความสมบูรณ์และเข้มแข็งทั้ง ร่างกาย & จิตใจ 2.4. ขจัดอยุติธรรม : แก้ไขการเอารัดเอาเปรียบคุณธรรม & จริยธรรมเป็นพื้นฐานสังคมมนุษย์ ความไม่ยุติธรรมก่อให้เกิดความขัดแย้งเอารัดเอาเปรียบ แก่งแย่งและความแตกต่างการใช้ความรุนแรง ความขัดแย้ง การใช้ความรุนแรง ปฏิวัติ การเปลี่ยนแปลง
3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- reliance) ทั้งระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ 3.2 ความสามารถในเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : ความก้าวหน้าในแง่ความเข้าใจ การคิดค้น ประดิษฐ์และการ ประยุกต์ใช้
3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ ทางกายภาพ ชีวภาพและมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.4. การกระจายอำนาจ : การบริหาร การพัฒนาใน การกระจายอำนาจอาจจะเกิดทั้ง - แง่ + ระดมความคิดและร่วมมือระดับล่าง - แง่ - อาจล่าช้าเพราะผ่านขั้นตอน
เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย การพิจารณาการกระจายอำนาจ 1. ขอบเขตและการตัดสินใจ 2. การกำหนดนโยบายต่างๆ 3. การใช้จ่ายและการควบคุมการคลัง 4. การบังคับบัญชาบุคลากร 5. การจัดการและรูปแบบการบริหาร 3.5 การกระจายผลประโยชน์ : ทุกในแง่ประโยชน์จาก บริการสาธารณะ (Public Interest) เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. การเสริมสร้างความมีเหตุผล : การพยายามให้ผู้อื่นเกิดความรู้อย่างมีเหตุผล : การใช้ปัญญาให้ เกิดการพัฒนา การพัฒนาโดยใช้ภูมิปัญญา 2. การวางแผนอย่างมีเป้าหมาย : การมองการณ์ไกล : การยอมรับความก้าวหน้าและนวัตกรรม 3. ทัศนคติที่ดี “ชีวิต” และ “งาน” : การที่มีทัศนคติที่ดี สร้างสิ่งที่ดี หรือมองผู้อื่นด้วยดี : พิจารณาคุณค่าและให้คุณค่าที่ดีต่องาน ชีวิต และผู้อื่น
กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 4. การสร้างสถาบันที่มีความชำนาญ : การพัฒนาสถาบัน/องค์กรที่มีความชำนาญ : สร้างงาน ให้งานกับผู้ที่มีความสามารถ และสร้างสถาบัน/องค์กรที่ดีตามความชำนาญ 5. ประสิทธิภาพการผลิต/ดำเนิงาน: การประกอบกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ : สร้างประสิทธิภาพการผลิต/ทำงานจะมีผลต่อการใช้ทรัพยากรและการพัฒนา Input Process/System Output สมดุล ด้อยพัฒนา พัฒนา Input = Output Input > Output Input < Output
กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 6. การเพิ่มผลผลิต/ผลงาน การยกระดับด้วยการเพิ่มผลผลิต/ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในผลงานที่รับผิดชอบให้ดีขึ้น 7. โอกาสการได้รับบริการสาธารณะ ความเสมอภาคในโอกาสการได้รับบริการสาธารณะ : พิจารณาโอกาส เงื่อนไข และการยกเว้น 8. ประชาธิปไตยระดับ “รากหญ้า” วิถีทางประชาธิปไตยในการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย : สามารถยอมรับความแตกต่างและการมีเหตุผล
กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 9. การสร้างความเข้มแข็งของชาติ ผลประโยชน์ของสังคม/ประเทศเป็นหลัก : การให้ความ สำคัญต่อผลประโยชน์โดยรวมของทุกคนในสังคมและประเทศ 10. ความมีวินัยของสังคม สร้างเสริมวินัยบุคคลในประเทศ : วินัยการดำรงชีวิต/ประกอบอาชีพ (จริยธรรม/จรรยาบรรณ) 13
ปรัชญาพื้นฐานการพัฒนา บุคคลมีความแตกต่างและมีเอกลักษณ์ บุคคลมีสิทธิและกำหนดวิถีชีวิตตนเอง บุคคลสามารถเรียนรู้ บุคคลมีความคิดริเริ่ม บุคคลความสามารถพัฒนาขีดความสามารถของชุมชน
ปรัชญาแห่งการพัฒนา มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด เพราะมีความสามารถและพลัง ซ่อนเร้น ศรัทธาในความยุติธรรมของสังคม เพื่อขจัดความขัดแย้งและความ เหลื่อมล้ำในสังคม ความไม่รู้ ความดื้อรั้นและการใช้กำลังเป็นอุปสรรคสำคัญในการ พัฒนา
วิกฤตการแห่งการพัฒนา คำประกาศประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา Truman หลังสงครามโลก II 1945 การตั้งองค์การสหประชาชาติ 1943 ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศที่ร่ำรวย/พัฒนาแล้วช่วยเหลือประเทศยากจน/ด้อยพัฒนา ประเทศสหรัฐอเมริกามีบทบาทมาก ประเทศทุกประเทศทั่วโลกมีความเท่าเทียมกัน คำประกาศประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา Truman หน้าที่ประเทศพัฒนาแล้วต้องช่วยเหลือประเทศด้อยพัฒนา
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ประเทศโลกที่ 1 = ประเทศเสรีนิยมอุตสาหกรรม การแบ่งกลุ่มประเทศ เชิงการเมือง ประเทศโลกที่ 2 = ประเทศสังคมนิยม ประเทศโลกที่ 3 = ประเทศ ด้อยการพัฒนา แนวทางความช่วยเหลือ แนวทางเสรีนิยมประชาธิปไตย องค์กรระดับโลกทำหน้าที่ เศรษฐกิจและการเงิน - องค์การสหประชาชาติ เทคนิคและเชี่ยวชาญ - ธนาคารโลก ทหารและการเมือง - กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความช่วยเหลือปรับปรุงโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต ธนาคารโลก ความช่วยเหลือทางเทคนิค ด้านผู้เชี่ยวชาญ คำขอความช่วยเหลือ ประเทศโลกที่ 3 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศสำคัญ ความช่วยเหลือให้แก่ประเทศ ทั่วไป : ขัดข้องเงินทุนสำรอง สกุลดอลลาร์สหรัฐฯ
ระดับการพัฒนา ปัญหาสะสมและรุนแรง วิกฤตการแห่งการพัฒนา เร่งรัดอุตสาหกรรมเป็นแกนนำ การสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ Modernization Theory สร้างความเป็นเมือง ปรับระบบการบริหาร ระดับการพัฒนา ปัญหาสะสมและรุนแรง - ความเหลื่อมล้ำและแตกต่าง เศรษฐกิจขยายตัว เมืองเติบโตรวดเร็ว - การพึ่งพาต่างประเทศ การบริการเพิ่มขึ้น - ความถดถอยของประเทศ
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ(Economic) ภาวะการพึ่งพา ทางเศรษฐกิจ(Economic) - การผูกขาดทางการตลาด ผู้ประกอบการในประเทศ เติบโตค่อนข้างช้า ทางการเมือง (Political) - การดำเนินนโยบาย - การแทรกแซง
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - ลักษณะเฉพาะทาง ความสัมพันธ์ทางการเมือง ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - คุณลักษณะทางวัฒนธรรม และจริยธรรมของประเทศ Concrete Situations - ความเป็นมาและพัฒนาการสังคม - พื้นฐานระบบการผลิตและความชำนาญ - ระบบสังคม วัฒนธรรมและการเมือง
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความมุ่งหมายประเทศกำลังพัฒนา - ศักยภาพการพึ่งตนเอง (Self-reliance) - ขีดความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่าง : - ระบบเศรษฐกิจ - เพิ่มอำนาจการเจรจาต่อรอง บรรษัทข้ามชาติ/ทุนนิยม - ระบบสังคม - ภาวะพึ่งพากันปราศจากการ ครอบงำและขูดรีด (Interdependence) - ระบบการเมือง - ระบบวัฒนธรรม - ระบบทรัพยากร
วิกฤตการแห่งการพัฒนา - รายได้ไม่ใช่สิ่งสำคัญต่อ การพัฒนา การเปลี่ยนแปลง ความคิด - อุตสาหกรรมไม่ได้เป็นแนวทาง การพัฒนา ความหมายการพัฒนา ที่แท้จริง - กลไกการตลาดไม่ใช่นำไปสู่ การพัฒนาที่ดีเสมอ การพัฒนาเมือง = การพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม = การพัฒนาเกษตรกรรม เทคโนโลยีชั้นสูง = เทคโนโลยีพื้นฐาน ความสมดุล = ความแตกต่าง
ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ วิกฤตการแห่งการพัฒนา บริบทพื้นฐานแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ ดุลยภาพทางสังคม ดุลยภาพที่เกื้อกูลและ ไม่เกิดความขัดแย้ง กันและกัน ดุลยภาพทางเศรษฐกิจ ดุลยภาพทางสิ่งแวดล้อม