อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
การตรวจสอบ CRC บน ROUTER
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
ATM NETWORK.
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ARP (Address Resolution Protocol)
Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School
Digital Data Communication Technique
Sharing Communication Lines
Network Layer Protocal:
Data Link Layer.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Introduction to Information and Communication Technology)
ชี้แจงวัตถุประสงค์ เนื้อหารายวิชา และหลักเกณฑ์ในการวัดผล
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ERROR (Data Link Layer)
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
Lab 1 – 2 Protocols Guideline.
Uncertainty of Measurement
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
ความหมายของแอนิเมชัน
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
IP ADDRESS.
โครงสร้างข้อมูล Queues
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
N I T DATA. N I T DATA Data Link Layer Flow Control 1. Stop-and-Wait Flow Control 2. Sliding-Window Flow Control.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล บทที่ 7 การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด (Error Detection, Flow Control and Error Control) อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล

การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด ชั้นสื่อสารด้าต้าลิงก์ จะรับแพ็กเก็ตข้อมูลจากชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก ด้วยการแบ่งหน่วยข้อมูลที่เรียกว่าเฟรม จากนั้นจะปะส่วนหัวที่เรียกว่าเฮดเดอร์เข้าไปในเฟรมเพื่อกำหนดที่อยู่ของผู้ส่งและผู้รับ ชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ยังช่วยสร้างความน่าเชื่อถือไปยังชั้นฟิสิคัล ด้วยการเพิ่มกลไกการตรวจจับข้อผิดพลาดของข้อมูล

ชนิดของข้อผิดพลาด (Type of Error) สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด คือ ข้อผิดพลาดแบบบิตเดียว (Single-Bit Error) ข้อผิดพลาดแบบหลายบิต (Burst Error)

ชนิดของข้อผิดพลาด (Type of Error)

วิธีตรวจจับข้อผิดพลาด (Error Detection Methods) การใช้บิตตรวจสอบ (Parity Checks) การหาผลรวม (Checksum) การใช้วิธี CRC (Cyclic Redundancy Checksum)

การใช้บิตตรวจสอบ (Parity Checks) เป็นวิธีตรวจจับข้อผิดพลาดอย่างง่ายและเป็นวิธีที่เก่าแก่ โดยใช้พาริตี้บิตซึ่งประกอบด้วยเลขไบนารี 0 หรือ 1 ปะท้ายเพิ่มเข้าไปอีกหนึ่งบิต วิธีการนี้จะมีอยู่ 2 วิธีด้วยกัน การตรวจสอบสภาวะบิตคู่ (Even Parity) การตรวจสอบสภาวะบิตคี่ (Odd Parity)

การใช้บิตตรวจสอบ (Parity Checks)

การหาผลรวม (Checksum) มีประสิทธิภาพสูงกว่าวิธีการใช้บิตตรวจสอบ แต่ต้องแลกกับการใช้โอเวอร์เฮดที่มากกว่า ฝั่งส่งจะคำนวณหาผลรวมข้อมูลและส่งไปพร้อมกับข้อมูล ฝั่งรับจะนำผลรวมเหล่านั้นไปตรวจสอกับผลรวมของข้อมูลที่ได้รับเข้ามา ว่าถูกต้องตรงกันหรือไม่

การหาผลรวม (Checksum)

การใช้วิธี CRC (Cyclic Redundancy Checksum) เป็นวิธีหนึ่งที่นิยมใช้ในเครือข่ายท้องถิ่น จัดได้ว่ามีประสิทธิภาพสูงกว่า Parity Checks และ Checksum สามารถตรวจจับข้อผิดพลาดได้ครอบคลุมและแน่นอนกว่า CRC-32 บิตมีอัตราความแน่นอนในการตรวจจับข้อผิดพลาดได้ถึง 99.99999998%

การใช้วิธี CRC (Cyclic Redundancy Checksum)

การควบคุมการไหลของข้อมูล (Flow Control) สาเหตุที่ต้องมีการควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด ในกรณีที่ฝั่งส่งและฝั่งรับสื่อสารอยู่บนความเร็วที่แตกต่างกัน จะทำการโต้ตอบกันอย่างไร หากเฟรมข้อมูลที่ส่งไปนั้นเกิดความเสียหาย หรือสูญเสีย จะเกิดอะไรขึ้น หากฝั่งรับไม่รู้ว่ามีข่าวสารส่งมาถึงตน จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าหากเฟรมข้อมูลของฝั่งส่งนั้นเกิดความเสียหาย

การควบคุมการไหลของข้อมูล (Flow Control) การควบคุมการไหลของข้อมูล สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท การควบคุมการไหลของข้อมูลด้วยวิธีการหยุดและรอ (Stop-and-Wait Flow Control) การควบคุมการไหลของข้อมูลด้วยวิธีเลื่อนหน้าต่าง (Sliding-Window Flow Control)

การควบคุมการไหลของข้อมูลด้วยวิธีการหยุดและรอ (Stop-and-Wait Flow Control)

การควบคุมการไหลของข้อมูลด้วยวิธีเลื่อนหน้าต่าง (Sliding-Window Flow Control)

การควบคุมข้อผิดพลาด (Error Control) การควบคุมข้อผิดพลาด เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่จะต้องตรวจสอบข้อผิดพลาดของเฟรมอย่างไร และจะต้องทำอย่างไรบ้าง หากเกิดขึ้น เพื่อแสดงความมั่นใจได้ว่าเฟรมข้อมูลทั้งหมดทีส่งไปยังปลายทางนั้น จะปราศจากข้อผิดพลาด

การดำเนินการกับข้อผิดพลาด สามารถปฏิบัติได้ 3 กรณี คือ ไม่ต้องดำเนินการใดๆ (Do Nothing) แจ้งข่าวสารกลับไปฝั่งส่งรับทราบ (Return a Message) ตรวจแก้ข้อผิดพลาด (Correct the Error)

ชนิดของข้อผิดพลาด ข้อผิดพลาดที่ตรวจพบ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด เฟรมสูญหาย (Lost Frame) เฟรมชำรุด (Damage Frame)

การควบคุมข้อผิดพลาด ARQ เป็นกระบวนการที่จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือในข้อมูลให้กับชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ยิ่งขึ้น โดยทั่วไปจะมี 2 วิธีหลักๆ คือ Stop-and-Wait ARQ Continuous ARQ Go-Back-N ARQ Selective-Reject ARQ

Stop-and-Wait ARQ

Stop-and-Wait ARQ

Go-Back-N ARQ

Selective-Reject ARQ

อ้างอิง โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (๒๕๕๒). การสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.