ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
การประยุกต์ 1. Utility function
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
Group 1 Proundly Present
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
กลไกราคากับผู้บริโภค
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) บทที่ 5 ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) ความหมายของตลาด การติดต่อซื้อขายสินค้าและบริการกันระหว่าง ผู้ซื้อและผู้ขาย ทั้งในสถานที่ที่เป็นตลาดโดยทั่วไป เช่น ตลาดสามย่าน ตลาดประตูน้ำ รวมถึง การติดต่อกันทางจดหมาย โทรศัพท์ โทรสาร หรือ พาณิชย์ อิเลคโทรนิค ฯลฯ ประเภทของตลาดในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

ดุลยภาพของตลาดโดยใช้กลไกราคา P Q Excess Supply S D 50 200 400 E 30 300 Ø     ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) อยู่ ณ จุดที่ อุปสงค์ เท่ากับ อุปทาน Ø     ราคาสินค้าจะที่ทำให้อุปสงค์เท่ากับอุปทานเรียกว่า ราคาดุลยภาพ Ø     ปริมาณสินค้า ณ ระดับราคาดุลยภาพเรียกว่า ปริมาณดุลภาพ

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ ผลของการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์และอุปทาน (ที่ไม่ใช่ราคา) เช่น รายได้ เทคนิคการผลิต การคาดคะเนของผู้บริโภค ฯลฯ ผลของการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ · กรณีอุปสงค์เพิ่มขึ้น · กรณีอุปสงค์ลดลง P Q D0 P Q S D1 D1 S D0 E E1 E1 E

P Q P Q ผลของการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน · กรณีอุปทานเพิ่มขึ้น · กรณีอุปทานเพิ่มขึ้น · กรณีอุปทานลดลง S1 P Q P Q S0 D0 D0 S1 E1 S0 E E E1

การเปลี่ยนแปลงทั้งระดับอุปสงค์และอุปทาน · กรณีอุปสงค์เพิ่มขึ้นมากกว่าอุปทานเพิ่มขึ้น P Q D1 S0 D0 S1 E1 E

การแทรกแซงกลไกตลาด การแทรกแซงด้านราคา การเก็บภาษีสินค้าและบริการ การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Minimum Price Policy) 1.   ประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support Policy) 2.  การจ่ายเงินอุดหนุนผู้ผลิต (Producer Subsidy) 3.   การลดปริมาณการผลิต (Product Restriction) การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)

การประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support Policy) ผลของการแทรกแซง P Q Excess Supply S0 ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = D0 Ps Qd Qs E Po Qo ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาแพงขึ้น = รัฐบาลต้องรับซื้อสินค้าส่วนเกิน =

การจ่ายเงินอุดหนุนผู้ผลิต (Producer Subsidy) ผลของการแทรกแซง P Q S0 ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = D0 Ps E Po Qo ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาเท่าเดิม (Po) รัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้ผู้ผลิต =

แต่ผู้ผลิตจะมีรายรับเพิ่มขึ้นหรือไม่      การลดปริมาณการผลิต (Product Restriction) S1 ผลของการแทรกแซง P Q ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = S0 D0 E1 P1 ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาเพิ่มขึ้น = E Po Qo Q1 ผลของการลดปริมาณการผลิต คือ P สูงขึ้น แต่ Q ลดลง จาก Po Qo เป็น P1 Q1 แต่ผู้ผลิตจะมีรายรับเพิ่มขึ้นหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ Ed

Ed = % Q / % P รายรับ = ราคา x ปริมาณ = P x Q สมมุติ P เพิ่ม 10% , Q ลด 20% ถ้า รายรับเดิม = Po x Qo = 20 x 100 = รายรับใหม่ = P1 x Q1 = 22 x 80 สมมุติ P เพิ่ม 20% , Q ลด 10% ถ้า รายรับเดิม = Po x Qo = 20 x 100 = รายรับใหม่ = P1 x Q1 = 24 x 90

กำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling) S Px Qx D เป็นการแทรกแซงเพื่อช่วยผู้บริโภค ผลของการแทรกแซง Pe ผลิตและผู้บริโภคซื้อขายกันในราคา Pc เกิด Excess D = รัฐต้องใช้การปันส่วนสินค้า และหามาตรการป้องกันตลาดมืด Pc Qs Qd Excess D

การเก็บภาษีสินค้าและบริการ เก็บภาษีต่อหน่วยผู้ขาย S1 Px Qx So P1 Tax Po Qo Q1

การเก็บภาษีสินค้าและบริการ S1 รายได้ภาษีที่รัฐจัดเก็บ = Eo So Px Qx Do E1 ผู้ซื้อเสียภาษี = P1 Q1 TAX ผู้ขายเสียภาษี = B D Po Qo *** ภาระภาษี จะตกอยู่กับผู้ซื้อและผู้ขายมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ Ed และ Es

อุปสงค์มีความยืดหยุ่นต่ำ (0<Ed<1) ผู้บริโภครับภาระภาษีมากกว่า S1 Px Qx Eo So Do E1 P1 Q1 B D Po Qo

อุปสงค์มีความยืดหยุ่นสูง (1>Ed<) ผู้ขายจะรับภาระภาษีมากกว่า S1 Px Qx So D E Q1 Qo

ทฤษฎีใยแมงมุม (Cobweb Theory) อธิบายปรากฏการณ์เกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าเกษตรกรรม ซึ่งผู้ผลิตจะราคาสินค้าเกษตรในช่วงเวลาหนึ่งที่ผ่านมา เป็นตัวกำหนดปริมาณสินค้าที่จะขายในช่วงถัดไป ทำให้การเปลี่ยนแปลงของราคาและปริมาณของสินค้ามีลักษณะเหมือนใยแมงมุม Px Qx S P3 P1 P2 D Q2 Q3

S1 Px (บาท) Qx (หน่วย) ก่อนเก็บภาษี ราคาดุลภาพเท่ากับ........บาท/หน่วย รัฐบาลจัดเก็บภาษีในอัตรา.............บาท/หน่วย ผู้ซื้อต้องรับภาระภาษีทั้งหมด.........บาท ผู้ขายรับภาระภาษีทั้งหมด.......บาท รายได้ของผู้ขายหลังเก็บภาษีมีค่าเท่ากับ.......บาท Eo So Do E1 50 100 30 150 20