1 Structures & Records SCC : Suthida Chaichomchuen

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Advertisements

บทที่ 11 โปรแกรมย่อยขั้นต้น
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
Introduction to C Programming
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ตัวแปรชนิดโครงสร้าง (Structure)
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
ตัวแปรชุด.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
Seree Chinodom Recordset Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
C Programming Lecture no. 9 Structure.
Seree Chinodom Connection Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
SCC - Suthida Chaichomchuen
SCC : Suthida Chaichomchuen
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
SCC : Suthida Chaichomchuen
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
Association Abstraction
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
Operators ตัวดำเนินการ
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
Control Transfer Instructions
Addressing Modes Assembly Programming.
CHAPTER 1 Major Sources of Errors in Numerical Methods
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
CS Assembly Language Programming
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
อาร์เรย์และข้อความสตริง
บทที่ 15 โปรแกรมย่อยและแสต็ก
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
บทที่ 3 สตริงและ เรคคคอร์ค
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Lecture 4 เรคอร์ด.
Computer Programming for Engineers
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
ตัวแปรชุด Arrays.
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Chapter 1 : Introduction to Database System
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Structures & Records SCC : Suthida Chaichomchuen

2 Structure : Definition l การจัดโครงสร้างข้อมูลชนิดใหม่ โดย ประกอบด้วยกลุ่มของข้อมูลหลายชนิด ซึ่ง เมื่ออยู่รวมกันแล้วจะเป็นกลุ่มข้อมูลที่มี ความหมายใหม่

3 StructureNameSTRUC [Defined fields] StructureNameENDS Structure : General Format

4 Structure : Example กำหนดโครงสร้างข้อมูลแบบ Structure ชื่อ Personal ประกอบด้วยข้อมูล 4 ฟิลด์ PERSONALSTRUC IDDB0,0 NAMEDB10 DUP (?) AGEDB? SALARYDW? PERSONALENDS

5 Structure : Variable define การกำหนดตัวแปรชนิด Structure มีรูปแบบดังนี้ VarNameStructureName<> ชื่อตัวแปรชื่อ Structureสัญลักษณ์ การกำหนดค่า

6 Structure : Variable : Example1 Emp1PERSONAL<> เป็นการประกาศให้ตัวแปร Emp1 เป็นชนิด structure ชื่อ Personal โดยไม่มีการกำหนดค่า เริ่มต้นให้กับตัวแปร

7 Structure : Variable : Example2 Emp2PERSONAL100 Dup (<>) เป็นการประกาศให้ตัวแปร Emp2 เป็นชนิด structure ชื่อ Personal จำนวน 100 ชุด และ ไม่มีค่าเริ่มต้น

8 Structure : Operation การกำหนดค่าในแต่ละฟิลด์ของตัวแปร structure ใช้รูปแบบดังนี้ Var_name.Field_name ชื่อตัวแปร.ชื่อฟิลด์

9 Structure : Operation : Example1 MOVAL, Emp1.Name[2] คัดลอกค่าในไบต์ที่ 3 ของฟิลด์ Name ในตัวแปร Emp1 ใส่ในรีจิสเตอร์ AL

10 Structure : Operation : Example2 MOVAL, Emp2 + 4*15.Name[2] คัดลอกข้อมูลไบต์ที่ 3 ของฟิลด์ Name ของชุด ข้อมูลที่ 5 ในตัวแปร Emp2 มาใส่ในรีจิสเตอร์ AL

11 Record : Definition l การจัดโครงสร้างข้อมูลชนิดใหม่ โดย ประกอบด้วยกลุ่มข้อมูลในระดับบิต ซึ่งขนาด ของชุดข้อมูลนั้น จะมีการจัดเก็บเป็นจำนวน ไบต์

12 Record : General Format RecordNameRECORDFieldName : width=exp, … ชื่อเรคอร์ดRECORDชื่อฟิลด์ : ขนาด=ค่าเริ่มต้น,...

13 Record : Example เป็นการประกาศใช้โครงสร้างข้อมูลชนิดเรคอร์ด ชื่อ Pattern ซึ่งประกอบด้วย 4 ฟิลด์ PATTERNRECORDOPCODE:5, MODE:3, OPR1:4=8, OPR2:4

14 Record : Variable define การกำหนดตัวแปร Record มีรูปแบบดังนี้ VarNameRecordName<> ชื่อตัวแปรชื่อเรคอร์ดสัญลักษณ์ที่ใช้ กำหนดค่าเริ่มต้น

15 Record : Variable : Example1 Attrib1PATTERN<> เป็นการประกาศให้ตัวแปร Attrib1 เป็นชนิด Record ชื่อ Pattern โดยไม่มีการกำหนดค่า เริ่มต้นให้กับตัวแปร

16 Record : Variable : Example2 Attrib2PATTERN เป็นการประกาศให้ตัวแปร Attrib2 เป็นชนิด Record ชื่อ Pattern โดยมีการกำหนดค่าเริ่มต้น ให้กับตัวแปรทั้ง 4 ฟิลด์

17 WIDTH operator l ใช้เพื่อหาค่าขนาดของเรคอร์ด หรือขนาดของ แต่ละฟิลด์ในเรคอร์ด l ขนาด หมายถึง จำนวนบิต l รูปแบบคือ WIDTHชื่อเรคอร์ด/ชื่อฟิลด์ เช่นMOV BH, WIDTH PATTERN Record : Operators

18 MASK operator l เป็นการกำหนดให้ค่าบิตของฟิลด์ที่ถูก mask เป็น 1 ส่วนฟิลด์อื่นที่ไม่ถูก mask ค่าของบิต จะเป็น 0 l รูปแบบคือ MASK ชื่อเรคอร์ด/ชื่อฟิลด์ เช่นMOV AX, MASK MODE Record : Operators

19 l เมื่อต้องการนำค่าในแต่ละฟิลด์มาใช้งาน จะต้องทำการเลื่อนบิตไปทางขวามือก่อน โดย จำนวนครั้งที่ต้องเลื่อนสามารถใช้คำสั่งดังนี้ MOVCL, ชื่อฟิลด์ เช่นMOVCL, OPR1 Record : Shift count

20 MOVAL, WIDTH OPR1 กำหนดให้ค่าในรีจิสเตอร์ AL มีค่าเท่ากับขนาด ของฟิลด์ OPR1 Record : Operators : Example1

21 MOVBX, MASK OPR2 ถ้ามีการประกาศใช้ข้อมูลแบบ record ดังนี้ PATTERNRECORDOPCODE:5, MODE:3, OPR1:4=8, OPR2:4 จะได้ว่า BX= B Record : Operators : Example2

22 MOVCL, OPCODE ถ้ามีการประกาศใช้ข้อมูลแบบ record ดังนี้ PATTERNRECORDOPCODE:5, MODE:3, OPR1:4=8, OPR2:4 จะได้ว่า CL=11 (Decimal) Record : Operators : Example3