การประยุกต์ใช้งานความถี่ ครั้งที่1
กล่าวนำ ความท้าทายของการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ คือการที่สามารถติดต่อประสานงานทางธุรกิจได้จากทุกแห่งหน
การเข้าถึงสารสนเทศได้จากที่อยู่อาศัยโดยตรง โดยผ่านระบบโทรคมนาคม
โทรทัศน์ และ วิทยุ โทรทัศน์
วิทยุ
การจัดการโทรคมนาคมนานาชาติ
การจัดการโทรคมนาคมนานาชาติ
ความต้องการของเทคโนโลยีโทรคมนาคม
ความต้องการของเทคโนโลยีโทรคมนาคม
โลกาภิวัฒน์ของธุรกิจ ระบบโทรคมนาคมที่ดีจะช่วยให้การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มยอดขายและลดขั้นตอนการทำงานให้สะดวกรวดเร็วขึ้นและยังช่วยลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก
โลกาภิวัฒน์ของธุรกิจ
ความเชื่อมโยงและสัมพันธ์ในระดับนานาชาติ INTELSAT 20 December 1961 The United Nations General Assembly adopts Resolution 1721, stating that global satellite communications should be made available on a non-discriminatory basis.
Intelsat
Component
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมเป็นหลัก ความพิเศษของเทคโนโลยีทั้งสองนี้ก็ตรงที่ ต่างเป็นเทคโนโลยีที่เสริมซึ่งกันและกัน กล่าวคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพหากเป็นเทคโนโลยีเดี่ยว แยกกันอยู่อย่างอิสระ ก็คงพอจะนึกภาพได้ว่าคล้ายกับลักษณะของการทำงานแบบคนเดียว
โครงสร้างของข่ายงานโทรคมนาคมสากล ตัวอย่างของเทคโนโลยีโทรคมนาคมได้แก่ ระบบสื่อสารผ่านสายโทรศัพท์ด้วยความเร็วสูงเช่นเทคโนโลยีสายปลายทางดิจิตอลแบบไม่สมมาตร (Asymmetric Digital Subscriber Line: ADSL) ซึ่งปัจจุบันกำลังถูกพัฒนาให้ใช้ได้กับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และ บริการภาพยนตร์ตามสั่ง
การสื่อสารผ่านดาวเทียม การสื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นที่สนใจกันอย่างแพร่หลาย เพราะมีจุดได้เปรียบหลายอย่าง ตัวดาวเทียมก็เปรียบเสมือนตัวถ่ายทอดสัญญาณไมโครเวฟขนาดใหญ่ที่ลอยอยู่กลางท้องฟ้า ภายในมีหน่วยเรียกกว่า ทรานสปอนด์เดอร์ (transponder) ทำหน้าที่รับสัญญาณจากพื้นโลก ขยายให้แรงขึ้นแล้วส่งลงมาพื้นดิน โดยเปลี่ยนความถี่ตอนลงด้วยเพื่อป้องกันการรบกวนกับตอนส่งไปจากพื้นโลก
VSAT is Very Small Aperture Terminal
Applications Some Typical Applications are: LAN & WAN connections Telemedice Teleconference Distance learning Data distribution, etc.
โทรคมนาคมในแต่ละภูมิภาค
Africa Africa regional preparatory meeting for the World Telecommunication Development Conference (WTDC-02) Yaoundé, Cameroon, 29 - 31 May 2001. Americas Americas regional preparatory meeting for the World Telecommunication Development Conference (WTDC-02), 16-18 October 2001, Port-of-Spain, Trinidad and Tobago
Arab States Arab States regional preparatory meeting for the World Telecommunication Development Conference (WTDC-02), Alexandria, Egypt, 17 - 19 October 2000 Asia & Pacific Asia and Pacific (ASP) Regional Preparatory Meeting for the World Telecommunication Development Conference (WTDC-02), 25 to 27 April 2001, Bali, Indonesia
Europe & CIS Countries Regional Preparatory Meeting for the World Telecommunication Development Conference (WTDC-02), 28 to 30 November 2000, Sofia, Bulgaria
40 ปี ที่ผ่านมารัฐวิสาหกิจลงทุน รวม 2.52 ล้านล้านบาท การลงทุนด้านโทรคมนาคม 40 ปี ที่ผ่านมารัฐวิสาหกิจลงทุน รวม 2.52 ล้านล้านบาท เป็นการลงทุนด้านโทรคมนาคมประมาณ 0.24 ล้านล้านบาท (9%)
Fixed Mobile Substitution จำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (2536 – 2548) ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพิ่มขึ้นจาก0.41 ล้านราย ในปี 2535 เป็น 30.10 ล้านราย ในปี 2548 ขยายตัวอย่างก้าวกระโดดในปี 2544 – 2545 ถึงกว่า 100% ? Fixed Mobile Substitution ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่ เพิ่มจาก 2.21 ล้านราย ในปี 2536 เป็น 7.02 ล้านราย ในปี 2548 ตลาดเริ่มอิ่มตัว
จำนวนเลขหมายโทรศัพท์ประจำที่ต่อประชากร มีความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการโทรศัพท์ประจำที่ของเขตนครหลวงกับเขตภูมิภาคถึง 6.7 เท่า ในปี 2547
รายได้ต่อเลขหมายต่อเดือน โทรศัพท์ประจำที่ ลดลงเล็กน้อย 666 บาท 633 บาท โทรศัพท์เคลื่อนที่ ลดลงอย่างเห็นได้ชัด 876 บาท 455บาท
จำนวนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต
การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่
สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD)
Total Expenditure on R&D (% of GDP) (2002) สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD) Total Expenditure on R&D (% of GDP) (2002)
สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD)
ดุลการชำระเงินด้านเทคโนโลยี (% of GDP) (2542) สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD) ดุลการชำระเงินด้านเทคโนโลยี (% of GDP) (2542)
สรุปผลการพัฒนาที่ผ่านมา ผู้บริโภคนิยมใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนอาจทดแทนบริการโทรศัพท์ประจำที่ได้ในอนาคต (Fixed Mobile Substitution) มีการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่งผลให้ ARPU ลดลงอย่างต่อเนื่อง บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้รับความนิยมและขยายตัวอย่างก้าวกระโดด ยังคงมีความเหลื่อมล้ำของการเข้าถึงบริการโทรคมนาคมระหว่างเขตนครหลวงกับเขตภูมิภาค (Digital Divide) ขาดดุลการชำระเงินด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่จะขาดดุลเพิ่มมากขึ้น
แนวโน้มอุตสาหกรรม โทรคมนาคมโลก
แนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโลก ปี 2546 1 ล้านล้านดอลลาร์ ปี 2551 1.35 ล้านล้านดอลลาร์
โทรศัพท์ประจำที่ จำนวนผู้ใช้บริการและ ARPU มีแนวโน้มลดลง ผู้บริโภคจะใช้มือถือ และVoIP แทนโทรศัพท์ประจำที่มากขึ้น
โทรศัพท์เคลื่อนที่ จะมีการแข่งขันกันมากขึ้น แม้ว่าจะมีผู้ใช้เพิ่มขึ้นแต่ ARPU ลดลง (Prepaid) มีการใช้บริการ Data (Mobile Internet) มากขึ้น (3G) MVNOs จะมีมากขึ้นใน หลายภูมิภาคของโลก WiMAX อาจยังมีข้อจำกัด ทางเทคนิคในการให้บริการ
แนวโน้มอุตสาหกรรม ของ ประเทศไทย
โทรศัพท์ประจำที่ คาดว่าจะมีจำนวนเลขหมายโทรศัพท์ประจำที่เพิ่มขึ้นจาก 6.85 ล้านเลขหมาย ในปี 2544 เป็น 7.24 ล้านเลขหมาย ในปี 2551 เพิ่มขึ้น 2.4% ต่อปี
ตลาดเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว โทรศัพท์เคลื่อนที่ ตลาดเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว Prepaid ARPU ปี 2548 31.18 ล้านเลขหมาย ปี 2552 36.65 ล้านเลขหมาย
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (รายได้บริการเสียงและข้อมูล) Data Revenue Growth 102% per annual
อินเทอร์เน็ต
สรุปแนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่และโทรศัพท์เคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง ในขณะที่ FMS จะมีมากขึ้น ARPU จะลดลงต่อเนื่อง เพราะการแข่งขันด้านราคาในตลาดโทรศัพท์มือถือยังคงมีต่อเนื่อง และอาจรุนแรงมากขึ้น จากการลงทุน 3G ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จะใช้บริการข้อมูลมากขึ้น ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องในอ้ตราเฉลี่ยสูงกว่า 20%
แนวทางและเป้าหมายการพัฒนาตามแผนแม่บทฯ กลไกความร่วมมือทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และต่างประเทศ มีมาตรฐานและลักษณะ พึงประสงค์ทางเทคนิค ส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม มีหลักเกณฑ์การบริหารกองทุน พัฒนากิจการโทรคมนาคม ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็นหน่วย ตรวจสอบและรับรอง มาตรฐานอุปกรณ์ มีต้นแบบอุปกรณ์และเทคโนโลยี โทรคมนาคม มีหน่วยตรวจสอบมาตรฐานฯ ภาคเอกชน ส่งเสริมการจัดทำมาตรฐาน และลักษณะพึงประสงค์ ทางเทคนิคของอุปกรณ์
ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ประเมิน สถานะปัจจุบัน กำหนด วิสัยทัศน์ เป้าหมาย การพัฒนา Product Champion แนวทาง ดำเนินงาน ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง บุคลากร ภาครัฐ องค์กร กำกับดูแล (กทช.) สถาบันวิชาการ/ การศึกษา NGOs ผู้ให้บริการ ผู้ผลิตอุปกรณ์ มุ่งเน้นการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม โทรคมนาคม และพัฒนาศักยภาพเพิ่ม ขีดความสามารถบุคลากรโทรคมนาคม รวมทั้งสร้างความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน และต่างประเทศ โดยใช้กลไกกองทุน พัฒนากิจการโทรคมนาคมฯ และมาตรการจูงใจ ทั้งในรูปของตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน
คำถาม