โรคเอสแอลอี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
Myasthenia Gravis.
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
สูงวัยไม่ปวดเรื้อรัง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
Tonsillits Pharynngitis
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
โรคกระเพาะอาหาร.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคเอสแอลอี

โรคเอสแอลอี หรือโรคลูปัส เป็นโรคในกลุ่มข้ออักเสบ โรคเอสแอลอี หรือโรคลูปัส เป็นโรคในกลุ่มข้ออักเสบ และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่ง ที่สามารถมีอาการและอาการแสดง ได้กับทุกระบบในร่างกาย โรคจะมี ลักษณะเด่นคือ มีอาการกำเริบและสงบเป็นช่วงๆ ในระยะที่กำเริบอาจมีอาการรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้

สาเหตุของโรคเอสแอลอี คืออะไร สาเหตุของโรคเอสแอลอี คืออะไร สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบ จากการศึกษาพบว่า โรคนี้เป็นผลมาจากการผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้ร่างกายสร้างสารโปรตีนชนิดหนึ่งต่อต้านเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายตนเอง ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม การติดเชื้อบางอย่าง หรือยาบางชนิดสามารถกระตุ้นให้เกิดโรคได้

โรคนี้เป็นกับใครได้บ้าง ? โรคนี้พบได้เกือบทุกอายุ แต่จะพบมากในผู้หญิงวัยเจริญพันธ์ โดยพบได้มากกว่าผู้ชาย 10 เท่า

จะมีอาการอย่างไรบ้าง 1. ไข้ อ่อนเพลีย น้ำหนักลด อาจเป็นอาการนำในระยะแรก 2. อาการทางผิวหนัง เช่น ผื่นแพ้แดด อาจมีจุดเลือดออกตามปลายมือปลายเท้า 3. อาการทางระบบข้อ เช่น ปวดข้อ ข้ออักเสบ 4. อาการทางระบบไต เช่น อาการบวม ไตอักเสบ 5. อาการทางระบบเลือด เช่น ซีด จุดเลือดออกตามตัว 6. อาการทางระบบสมอง เช่น ซึม ชัก โรคจิต เป็นต้น 7. อาการทางระบบหายใจและปอด เช่น ปอดอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ เป็นต้น

รักษาอย่างไร 1. การรักษาทางยา เป็นส่วนสำคัญที่สุด ได้แก่ ยาคอติโคสเตียรอยด์ และยากดภูมิคุ้มกันอื่นฯ ยาเหล่านี้มีผลข้างเคียงค่อนข้างมาก ผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์เมื่อมีปัญหา และไม่ควรหยุดยาเอง เนื่องจากอาจทำให้โรคกำเริบได้ 2. การรักษาอื่นฯ มักจะเป็นส่วนประกอบในการรักษา เช่น ยากันแดด ยาลดความดันในรายที่มีความดันโลหิตสูง

การตั้งครรภ์และการคุมกำเนิด การตั้งครรภ์และการรับประทานยาคุมกำเนิด อาจกระตุ้นให้โรคกำเริบได้ ในรายที่สามารถควบคุมอาการ และมีอาการสงบของโรคเป็นเวลานานพอสมควร ผู้ป่วยจะสามารถตั้งครรภ์ได้เช่นคนปกติดังนั้นจึงควรปรึกษาแพทย์ก่อน

มีชีวิตอยู่อย่างไรให้มีคุณภาพ โรคนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์และจิตใจได้บ่อย ยาที่ใช้ในการรักษาอาจทำให้ผู้ป่วยหน้าบวม หรือผมร่วง ดูไม่สวยงาม ซึ่งความผิดปกติเหล่านี้จะหายไปเมื่อโรคสงบลง และมีการลดปริมาณของยาที่รับประทานลง ผู้ป่วยควรสร้างกำลังใจให้ตัวเอง ยอมรับและปรับตัวให้เข้ากับโรค เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข