หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
โรคสมาธิสั้น.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
Myasthenia Gravis.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
เครื่องถ่ายเอกสาร.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2 งานการพยาบาลผู้ป่วยกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด

อาการตัวเหลือง เกิดจากการมีสารสีเหลือง ที่เรียกว่า “บิลิรูบิน” ในเลือดสูงกว่าปกติ สารนี้ไปจับตามผิวหนัง ทำให้มองเห็นตัวเหลือง ทารกที่ตัวเหลือง จะมีตาเหลืองด้วย

สารบิลิรูบินเกิดจากการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดง

สาเหตุของภาวะตัวเหลือง เม็ดเลือดแดงของเด็กมีอายุสั้น จึงเกิดการแตกทำลายมาก ทำให้มีสารบิลิรูบินมาก และไปจับตามผิวหนัง ตับของทารกยังทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้การขับสารบิลิรูบินออกจากร่างกายไม่ดีเท่าที่ควร สารบิลิรูบินจึงคั่งค้างในร่างกายมากขึ้น

สาเหตุของภาวะตัวเหลือง (ต่อ) บางรายหมู่เลือดของมารดาและทารกไม่เข้ากัน บางรายเม็ดเลือดแดงของทารกขาดเอนไซม์ จี -6พีดี ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ

สาเหตุของภาวะตัวเหลือง (ต่อ) จากสาเหตุอื่น ๆ เช่น โลหิตเป็นพิษ ตับอักเสบจากเชื้อไวรัส ท่อนำดีอุดตัน เป็นต้น

ภาวะตัวเหลืองอันตรายอย่างไร ทารกที่มีระดับบิลิรูบินสูงมาก เหลืองเร็ว เหลืองนาน ถ้าไม่ได้รับการรักษา อาจเกิดอาการดีซ่านขึ้นสมอง มีอาการซึม ดูดนมไม่ดี แขนขาอ่อนแรง ชักกระตุก ร้องเสียงแหลม กล้ามเนื้ออ่อนแรง เนื่องจากสารบิลิรูบินไปจับเซลสมอง

การรักษา การสังเกต การส่องไฟ การถ่ายเปลี่ยนเลือด

การสังเกต ในรายที่ไม่เหลืองมากนัก ไม่จำเป็นต้องรักษา เพียงแต่เจาะเลือดดูระดับสารบิลิรูบิน หากผลเลือดสารบิลิรูบินไม่สูงนัก แพทย์อาจอนุญาตให้กลับบ้านได้

การสังเกต (ต่อ) หากเหลืองในระดับปานกลางหรือยังไม่แน่ใจ แพทย์อาจเจาะเลือดซ้ำในวันรุ่งขึ้น เพื่อดูว่าระดับสารสีเหลืองลดลงจากวันก่อนหรือไม่

การส่องไฟ ใช้รักษาทารกที่มีระดับบิลิรูบินปานกลางถึงสูง โดยนำหลอดฟูโอเรสเซนต์ ทำเป็นแผงไฟ มาส่องเหนือตัวทารก

การส่องไฟ (ต่อ) แสงไฟสามารถเปลี่ยนสภาพของบิลิรูบินจนสามารถขับออกทางอุจจาระหรือปัสสาวะได้ดี การรักษาด้วยวิธีนี้อาจใช้เวลา 3 - 7 วัน

การถ่ายเปลี่ยนเลือด การถ่ายเปลี่ยนเลือด จะทำไม่บ่อย เป็นการถ่ายเอาเลือดที่มีบิลิรูบินสูงออกจากตัวทารกแล้วเอาเลือดใหม่ซึ่งไม่มีปฏิกิริยากับเลือดของทารกเข้าไปแทน

การถ่ายเปลี่ยนเลือด (ต่อ) จะทำในทารกที่มีหมู่เลือดไม่เข้ากับของมารดาและมีอาการเหลืองเร็วภายหลังคลอด หรือในทารกที่มีระดับบิลิรูบินอยู่ในระดับอันตราย หรือในทารกที่เริ่มปรากฏอาการทางสมอง

การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการช่วยเหลือ ขึ้นกับดุลยพินิจของแพทย์ว่าจะตรวจหาอะไรบ้าง ตรวจหาระดับบิลิรูบินทุกวัน เจาะเลือดส่งตอนเช้า ทราบผลเวลาประมาณ 14.00 น. ในวันราชการ ยกเว้นวันหยุดทราบผลเวลาประมาณ 12.00 น.

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (ต่อ) ตรวจหาเอนไซม์ จี-6พีดี ทำในวันราชการ ทราบผลเวลาประมาณ 16.00 น. ตรวจหาหมู่เลือดทารก ทราบผลเวลาประมาณ 16.00 น. ตรวจหาเม็ดเลือดแดงที่แตก

คำแนะนำสำหรับการดูแลทารกตัวเหลือง เมื่อมารดาสังเกตว่าทารกตัวเหลืองควรให้ 1. ทารกดูดนมมารดาบ่อย ๆ เพื่อช่วยการขับสารบิลิรูบินออกทั้งปัสสาวะ และอุจจาระ

คำแนะนำ (ต่อ) 2. ให้ทารกนอนในที่มีแสงสว่างมาก ๆ อาจเปิดไฟช่วยได้

คำแนะนำ (ต่อ) 3. ให้สังเกตว่าทารกตัวเหลืองเพิ่มขึ้นหรือไม่ หากเหลืองมากขึ้น ซึม ไม่ดูดนม ควรปรึกษาแพทย์

แบบทดสอบ 1. สารสีเหลือง หรือบิลิรูบินเกิดจากอะไร 2. สาเหตุของภาวะตัวเหลืองมีอะไรบ้าง

แบบทดสอบ (ต่อ) 3. ภาวะตัวเหลืองมีอันตรายอย่างไร 4. ภาวะตัวเหลืองมีการรักษาด้วยวิธีใดบ้าง

แบบทดสอบ (ต่อ) 5. มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อเจาะเลือดหาอะไรบ้าง

แบบทดสอบ (ต่อ) 6. ถ้าหากทารกกลับไปอยู่บ้าน และมารดาสังเกตเห็นว่าทารกตัวเหลือง มารดาควรทำอย่างไรบ้าง

จบการนำเสนอ