วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
Leaf Monocots Dicots.
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ของส่วนประกอบของเซลล์
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
ชีวเคมี II Bioenergetics.
Physiology of Crop Production
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
~ ชาเขียว ~.
Cell Specialization.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
BIOL OGY.
ระบบประสาท (Nervous System)
Protein.
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
ประโยชน์ในผักแต่ละสี
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
Biosensor (Multimedia Input)
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
whey เวย์ : casein เคซีน
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
การเพิ่มชุดโครโมโซม Polyploidy.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic system)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โรคเบาหวาน Diabetes.
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป 5 คะแนน ตอบถูก 7 ข้อ 4 คะแนน ตอบถูก 6 ข้อ 3 คะแนน ตอบถูก 5 ข้อ 2 คะแนน ตอบถูกน้อยกว่า 4 ข้อ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกเลยไม่ได้รับคะแนน.
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
โดย นางธนาวลัย อรัญญิก
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
Kingdom Plantae.
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 (Plant Physiology) 15 กรกฎาคม 2552

การขนส่งอาหารเข้าสู่โฟลเอมที่แหล่งส่งอาหาร (Phloem loading) น้ำตาลซูโครสในซีพเอลิเมนท์มีความเข้มข้นสูงกว่า เซลล์มีโซฟิลล์ที่อยู่ข้างเคียงถึง 2 – 3 เท่า การขนส่ง น้ำตาลจากเซลล์มีโซฟิลล์เข้าสู่ซีพเอลิเมนท์ จึงเป็นการ ขนส่งแบบแอคทีฟ และความเข้มข้นของน้ำตาลที่สูงใน โฟลเอมของเส้นใบย่อยมีผลให้เกิดแรงดันของเหลวออก จากแหล่งส่งอาหาร

http://plantphys.info/plant_physiology/images/phloemls.gif

การขนส่งน้ำตาลเกิดได้ 2 แบบ การขนส่งน้ำตาลเกิดได้ 2 แบบ 1. แบบซิมพลาสต์ (symplastic pathway) - การขนส่งจากเซลล์มีโซฟิลล์ผ่านเซลล์ต่างๆ ไปจนถึงซีฟเอลิเมนท์ผ่านทางพลาสโมเดสมาต้าโดยตลอด

2. น้ำตาลเคลื่อนที่จากมีโซฟิลล์ผ่านเซลล์บันเดิลชีทเข้าสู่เซลล์พาเรงคิมาโดยใช้ระบบซิมพลาสต์ จากนั้นน้ำตาลจะถูกขนส่งออกสู่ระบบอะโพพลาสต์ ผ่านพลาสมาเมมเบรน ของเซลล์พาเรงคิมาออกสู่ผนังเซลล์ของเซลล์พาเรงคิมา แล้วน้ำตาลถูกขนส่งเข้าเซลล์ประกบและซีฟเอลิเมนท์ โดยกลไกการขนส่งแบบแอกทีฟในพลาสมาเมมเบรนของเซลล์ทั้งสอง

CO2 Mesophyll cells Plasmodesmata CO2 Phloem parenchyma Bundle sheath Companion cell http://www.biology.lsu.edu/webfac/dlongstreth/plphys/lectur257.jpg

www.biology.lsu.edu/.../plphys/lecture_13.htm

การลำเลียงน้ำตาลจากแหล่งผลิต(เซลล์มีโซฟิลล์) เข้าสู่โฟลเอม (ซีฟเอลิเมนท์) (Phloem loading) 1. เป็นการลำเลียงแบบแอคทีฟต้องใช้พลังงาน (active transport) 2. มีกลไกคัดเลือกสารที่เฉพาะเจาะจง (selective loading) 3. การขนส่งต้องใช้โปรตีนขนส่งพาซูโครสเข้าไปในซีฟเอลิเมนท์ 4. ถูกยับยั้งโดยอุณหภูมิต่ำและตัวยับยั้งเมแทบอลิซึม

http://plantphys.info/plant_physiology/images/phloemls.gif

http://www. uic. edu/classes/bios/bios100/lecturesf04am/sucrosepump http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lecturesf04am/sucrosepump.jpg

การขนส่งออกจากโฟลเอมที่แหล่งรับอาหาร (Phloem unloading) การเคลื่อนที่ของน้ำตาลซูโครสออกจากซีฟเอลิเมนท์ เข้าสู่เซลล์รับอาหาร (sink cell) มี 2 เส้นทาง 1. เส้นทางซิมพลาสต์ โปรตีนขนส่งพาซูโครสผ่านพลาสโม เดสมาตาออกจากซีฟเอลิเมนท์เข้าสู่เซลล์รับอาหาร ซึ่งเป็นเซลล์ของเนื้อเยื่อที่กำลังเจริญเติบโต

2. เส้นทางอะโพพลาสต์ (ดูในรูปข้างล่าง) 2. เส้นทางอะโพพลาสต์ (ดูในรูปข้างล่าง) ส่วนใหญ่เกิดใน sink cell ที่เป็นเนื้อเยื่อสะสมอาหาร 1.) ซูโครสออกจากซีฟเอลิเมนท์เข้าสู่ผนังเซลล์ของเซลล์รับอาหารถูกเปลี่ยนเป็นกลูโคสและฟรุคโทสโดยเอนไซม์อินเวอร์เทส (invertase) ในผนังเซลล์ก่อนแล้วจึงเคลื่อนที่ไปกับโปรตีนขนส่งเข้าสู่ไซโทพลาสซึม

หรือ 2.) ซูโครสผ่านเข้าไปกับโปรตีนขนส่งได้โดยตรง 2.) ซูโครสผ่านเข้าไปกับโปรตีนขนส่งได้โดยตรง 3.) เมื่อซูโครสอยู่ในไซโทพลาสซึมของเซลล์รับอาหารจะถูกเปลี่ยนเป็นกลูโคสและฟรุกโทสโดยเอนไซม์อินเวอร์เทสที่อยู่ในไซโทพลาสซึม

หรือ 4.) ซูโครสผ่านเข้าไปกับโปรตีนขนส่งทางโทโนพลาสต์เมมเบรนไปเก็บไว้ในแวคิลโดย 5.) เมื่อซูโครสเข้าไปในแวคิวโอลอาจเปลี่ยนรูปเป็นกลูโคสและฟรุกโทสโดยเอนไซม์อินเวอร์เทสที่อยู่ในแวคิวโอล หรือเก็บสะสมในรูปซูโครสก็ได้

ที่มา :http://4e.plantphys.net/image.php?id=144

https://eapbiofield.wikispaces.com/file/view/translocation.jpg

Quiz 1. ว่านกาบหอย (Rhoe discolor) 2. ออสโมติกโพเทนเชียล 3. ค่าชลศักย์เท่ากับค่าออสโมติกเพรสเชอร์ 4. พลาสโมไลซิส (Plasmolysis) 5.  = -(0.20)(2.52) = - 504