KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การศึกษาดูงานเพื่อประยุกต์ใช้ในแผนยุทธศาสตร์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
KM AAR.
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
บันทึกจากการฟังการบรรยายเรื่อง
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
องค์กรแห่งการเรียนรู้
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
Communities of Practice (CoP)
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
KMS Knowledge Management System
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
Learning Organization & Knowledge Management
สวัสดีค่ะ อาจารย์ จิติณัฐ และเพื่อนๆทุกคน.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA
ใบสำเนางานนำเสนอ:

KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์ หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพาบาล

ทำไมต้องจัดการความรู้ ผลต่อองค์กร ผลต่อผู้ปฏิบัติ ช่วยขับเคลื่อนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้รวดเร็วขึ้น แพร่กระจายแนวปฏิบัติที่ดีเยี่ยม เพิ่มโอกาสในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ในองค์กร พัฒนาองค์ความรู้ที่มีพลวัตขององค์กร ได้รู้จักเพื่อนใหม่ที่มีหลายสิ่งคล้ายกับเรา และรู้ว่าเขาก็กำลังพบปัญหาเช่นเดียวกับเรา ช่วยกันพัฒนาความรู้ใหม่ๆ ที่สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ ได้รับความช่วยเหลือให้ทำงานได้ง่ายขึ้น เกิดการเรียนรู้มากขึ้น เกิดความภูมิใจในงาน เกิดความรู้สึกว่าตนเองได้รับการยอมร้บนับถือ

Knowledge Management กระบวนการในการจัดการเพื่อให้สามารถเข้าถึง รวบรวม จัดเก็บ แบ่งปัน และใช้ประโยชน์จากฐานความรู้ ประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ และกระบวนการปฏิบัติงานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ก่อประโยชน์ต่อองค์กรในอนาคต

การจัดการความรู้ กระบวนการในการนำความรู้ที่มีอยู่หรือ ได้เรียนรู้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่นการสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยนและใช้ความรู้เป็นต้น

ความรู้อยู่ที่ไหน ? ตำรา ห้องสมุด คอมพิวเตอร์ ประชุมวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ คนทำงาน ถูกทุกข้อ

Characteristics of Knowledge Explicit กฎ ระเบียบ คู่มือ แผนปฏิบัติการ Good Practice งานวิจัย บัญชีผู้เชี่ยวชาญ Tacit ทักษะ ประสบการณ์ พรสวรรค์ สัญชาตญาณ ความคิดริเริ่ม Not Documented Difficult to identify Documented Codified Archived ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน ความรู้ที่ชัดแจ้ง

Knowledge Management Organizational K Individual K (Tacit K) Learning Explicit K Individual K (Tacit K) ให้แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ KM เป็นการรวบรวมความรู้ที่กระจัดกระจาย ซึ่งมีทั้ง ความรู้ที่เป็น Explicit K ที่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ เอกสาร รานงาน ในสื่ออิเลคทรอนิกส์ต่างๆ และ ความรู้ที่เป็น Tacit K ที่สามารถไม่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ ทักษะ ทักษะ ประสบการณ์ ความคิด พรสวรรค์ ที่ฝังอยู่ในตัวคน ซึ่งทั้ง Explicit K และ Tacit K จะสามารถแลกเปลี่ยนหมุนเวียนกันได้ ขึ้นกับวิธีการ Sharing (SECI Model) โดยการจัดการความรู้จะรวบรวมองค์ความรู้เหล่านี้จากทุกรูปแบบ มาจัดให้เป็นระบบ เพื่อเป็นความรู้ขององค์กร จึงกลายเป็น Organizational K และองค์ความรู้เหล่านี้จะถูกนำไปใช้ประกอบในการทำงาน เช่นเป็นข้อมูลในการตัดสินใจ สร้างทางเลือกใหม่ เกิดนวัตกรรม ฯลฯ หรือกลุ่มเกิดการเรียนรู้ความรู้เดิมและเกิดการต่อย่อองค์ความรู้เดิม จนเกิดความรู้ใหม่ และความรู้นี้ก็จะฝังในตัวคน กลายเป็นวงจรเช่นนี้ต่อไปไม่หยุด

แนวคิด “การจัดการ” ความรู้ Create/Leverage Access/Validate เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน store apply/utilize Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น “2T” Tool & Technology เน้น “2P” Process & People อ.ประพนธ์ ผาสุขยืด

Model การสร้างความรู้ Nonaka & Takeuchi SECI model หลักสำคัญการสร้างความรู้ในหน่วยงานหรือองค์กร คือการสังเคราะห์หรือหลอมรวมความรู้ที่ชัดแจ้ง กับความรู้ที่ฝังลึก ยกระดับขึ้นไปเป็นความรู้ที่สูงขึ้น ลึกซึ้งขึ้น เป็นองค์รวมยิ่งขึ้น โดยผ่านกระบวนการ 4 ส่วน ที่เรียกว่า เซกิ (SECI)

Socialization Externalization Internalization Combination เกลียวความรู้ Tacit Knowledge Socialization เป็นกระบวนการของการแลกเปลี่ยนความรู้ฝังลึก ผ่านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ CoP เป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญในกระบวนการนี้ (F2F , B2B, OJT,mentoring) Externalization เป็นกระบวนการเปลี่ยนลึกเป็นแจ้ง ถูก codefied และเหตุผลสำหรับ actions หรือตัดสินใจ ทำให้คนเข้าถึงความรู้ได้(expert system, discussion forum, การเขียนcase study) Internalization กระบวนการนำ แจ้ง ฝังเข้าเป็น ลึก เป็นการเรียนรู้ที่ แจ้ง ได้นำไปสู่การปฏิบัติ (AAR, role play, การอ่าน, การฝึกงาน) Combination กระบวนการเปลี่ยน แจ้ง ให้เข้าระบบความรู้แจ้งที่กำหนดเอาไว้แล้ว และมีการแลกเปลี่ยนหรือเพิ่มเข้าในระบบฐานข้อมูลขององค์การ (web forum, best practice database Tacit K. Explicit K. Explicit Knowledge Nonaka & Takeuchi SECI model

KM Model “ปลาทู” KV KS KA ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Assets (KA) Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs KV KS KA อ.ประพนธ์ ผาสุขยืด

แนวทางการดำเนินการ ใช้ 6 Steps Training and Learning การอบรมและการเรียนรู้ Measurements การวัดผล Recognition and Reward การยกย่อง ให้รางวัล เป้าหมาย Desired state Process and Tools กระบวนการและ เครื่องมือ Communication การสื่อสาร Transition and Behavior Management การเตรียมการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

โยงยุทธศาสตร์ จัดทำแผน /กำหนด KPI ใช้การประเมิน ก.พ.ร. พันธกิจ/วิสัยทัศน์ KM เชิงองค์กร โยงยุทธศาสตร์ จัดทำแผน /กำหนด KPI ใช้การประเมิน ก.พ.ร. KM กลุ่ม /เครือข่าย แลกเปลี่ยน Tacit พัฒนา “คุณอำนวย” สร้าง CoPs เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ KM Strategies KM ปัจเจก / ใจ เริ่มจากเรื่องที่สนใจ ใช้ “หัวใจนักปราชญ์” ดูสิ่งที่กำกับอยู่ในใจ (Mindset, Mental Model) KM Focus Areas Desired State of KM Action Plans ( 6-step model) อ.ประพนธ์ ผาสุขยืด

กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) Learning ใน 7 ขั้นตอนเป็นการเรียนรู้ว่าความรู้ที่กำหนดนั้นเป็นความรู้ที่ต้องการหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning)

กุญแจ KM เนื้อหา Content คน People เทคโนโลยี กระบวนการ Technology Process นอกจาก Culture แล้วยังมีประเด็นอื่นหรือไม่ค่ะที่มีผลต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำ KM Have key K Explicit but not organized Tacit not shared People rooms for change-challenge Process -