KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์ หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพาบาล
ทำไมต้องจัดการความรู้ ผลต่อองค์กร ผลต่อผู้ปฏิบัติ ช่วยขับเคลื่อนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้รวดเร็วขึ้น แพร่กระจายแนวปฏิบัติที่ดีเยี่ยม เพิ่มโอกาสในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ในองค์กร พัฒนาองค์ความรู้ที่มีพลวัตขององค์กร ได้รู้จักเพื่อนใหม่ที่มีหลายสิ่งคล้ายกับเรา และรู้ว่าเขาก็กำลังพบปัญหาเช่นเดียวกับเรา ช่วยกันพัฒนาความรู้ใหม่ๆ ที่สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ ได้รับความช่วยเหลือให้ทำงานได้ง่ายขึ้น เกิดการเรียนรู้มากขึ้น เกิดความภูมิใจในงาน เกิดความรู้สึกว่าตนเองได้รับการยอมร้บนับถือ
Knowledge Management กระบวนการในการจัดการเพื่อให้สามารถเข้าถึง รวบรวม จัดเก็บ แบ่งปัน และใช้ประโยชน์จากฐานความรู้ ประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ และกระบวนการปฏิบัติงานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ก่อประโยชน์ต่อองค์กรในอนาคต
การจัดการความรู้ กระบวนการในการนำความรู้ที่มีอยู่หรือ ได้เรียนรู้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่นการสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยนและใช้ความรู้เป็นต้น
ความรู้อยู่ที่ไหน ? ตำรา ห้องสมุด คอมพิวเตอร์ ประชุมวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ คนทำงาน ถูกทุกข้อ
Characteristics of Knowledge Explicit กฎ ระเบียบ คู่มือ แผนปฏิบัติการ Good Practice งานวิจัย บัญชีผู้เชี่ยวชาญ Tacit ทักษะ ประสบการณ์ พรสวรรค์ สัญชาตญาณ ความคิดริเริ่ม Not Documented Difficult to identify Documented Codified Archived ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน ความรู้ที่ชัดแจ้ง
Knowledge Management Organizational K Individual K (Tacit K) Learning Explicit K Individual K (Tacit K) ให้แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ KM เป็นการรวบรวมความรู้ที่กระจัดกระจาย ซึ่งมีทั้ง ความรู้ที่เป็น Explicit K ที่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ เอกสาร รานงาน ในสื่ออิเลคทรอนิกส์ต่างๆ และ ความรู้ที่เป็น Tacit K ที่สามารถไม่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ ทักษะ ทักษะ ประสบการณ์ ความคิด พรสวรรค์ ที่ฝังอยู่ในตัวคน ซึ่งทั้ง Explicit K และ Tacit K จะสามารถแลกเปลี่ยนหมุนเวียนกันได้ ขึ้นกับวิธีการ Sharing (SECI Model) โดยการจัดการความรู้จะรวบรวมองค์ความรู้เหล่านี้จากทุกรูปแบบ มาจัดให้เป็นระบบ เพื่อเป็นความรู้ขององค์กร จึงกลายเป็น Organizational K และองค์ความรู้เหล่านี้จะถูกนำไปใช้ประกอบในการทำงาน เช่นเป็นข้อมูลในการตัดสินใจ สร้างทางเลือกใหม่ เกิดนวัตกรรม ฯลฯ หรือกลุ่มเกิดการเรียนรู้ความรู้เดิมและเกิดการต่อย่อองค์ความรู้เดิม จนเกิดความรู้ใหม่ และความรู้นี้ก็จะฝังในตัวคน กลายเป็นวงจรเช่นนี้ต่อไปไม่หยุด
แนวคิด “การจัดการ” ความรู้ Create/Leverage Access/Validate เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน store apply/utilize Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น “2T” Tool & Technology เน้น “2P” Process & People อ.ประพนธ์ ผาสุขยืด
Model การสร้างความรู้ Nonaka & Takeuchi SECI model หลักสำคัญการสร้างความรู้ในหน่วยงานหรือองค์กร คือการสังเคราะห์หรือหลอมรวมความรู้ที่ชัดแจ้ง กับความรู้ที่ฝังลึก ยกระดับขึ้นไปเป็นความรู้ที่สูงขึ้น ลึกซึ้งขึ้น เป็นองค์รวมยิ่งขึ้น โดยผ่านกระบวนการ 4 ส่วน ที่เรียกว่า เซกิ (SECI)
Socialization Externalization Internalization Combination เกลียวความรู้ Tacit Knowledge Socialization เป็นกระบวนการของการแลกเปลี่ยนความรู้ฝังลึก ผ่านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ CoP เป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญในกระบวนการนี้ (F2F , B2B, OJT,mentoring) Externalization เป็นกระบวนการเปลี่ยนลึกเป็นแจ้ง ถูก codefied และเหตุผลสำหรับ actions หรือตัดสินใจ ทำให้คนเข้าถึงความรู้ได้(expert system, discussion forum, การเขียนcase study) Internalization กระบวนการนำ แจ้ง ฝังเข้าเป็น ลึก เป็นการเรียนรู้ที่ แจ้ง ได้นำไปสู่การปฏิบัติ (AAR, role play, การอ่าน, การฝึกงาน) Combination กระบวนการเปลี่ยน แจ้ง ให้เข้าระบบความรู้แจ้งที่กำหนดเอาไว้แล้ว และมีการแลกเปลี่ยนหรือเพิ่มเข้าในระบบฐานข้อมูลขององค์การ (web forum, best practice database Tacit K. Explicit K. Explicit Knowledge Nonaka & Takeuchi SECI model
KM Model “ปลาทู” KV KS KA ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Assets (KA) Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs KV KS KA อ.ประพนธ์ ผาสุขยืด
แนวทางการดำเนินการ ใช้ 6 Steps Training and Learning การอบรมและการเรียนรู้ Measurements การวัดผล Recognition and Reward การยกย่อง ให้รางวัล เป้าหมาย Desired state Process and Tools กระบวนการและ เครื่องมือ Communication การสื่อสาร Transition and Behavior Management การเตรียมการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
โยงยุทธศาสตร์ จัดทำแผน /กำหนด KPI ใช้การประเมิน ก.พ.ร. พันธกิจ/วิสัยทัศน์ KM เชิงองค์กร โยงยุทธศาสตร์ จัดทำแผน /กำหนด KPI ใช้การประเมิน ก.พ.ร. KM กลุ่ม /เครือข่าย แลกเปลี่ยน Tacit พัฒนา “คุณอำนวย” สร้าง CoPs เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ KM Strategies KM ปัจเจก / ใจ เริ่มจากเรื่องที่สนใจ ใช้ “หัวใจนักปราชญ์” ดูสิ่งที่กำกับอยู่ในใจ (Mindset, Mental Model) KM Focus Areas Desired State of KM Action Plans ( 6-step model) อ.ประพนธ์ ผาสุขยืด
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) Learning ใน 7 ขั้นตอนเป็นการเรียนรู้ว่าความรู้ที่กำหนดนั้นเป็นความรู้ที่ต้องการหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning)
กุญแจ KM เนื้อหา Content คน People เทคโนโลยี กระบวนการ Technology Process นอกจาก Culture แล้วยังมีประเด็นอื่นหรือไม่ค่ะที่มีผลต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำ KM Have key K Explicit but not organized Tacit not shared People rooms for change-challenge Process -