โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
การระบาดของอหิวาตกโรคจังหวัดตาก
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ความหมายและกระบวนการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
VDO conference dengue 1 July 2013.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
โรคคอตีบ (Diphtheria)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปสถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู ณ วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕ โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๖ และ ๙ และสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

สถานการณ์ทางระบาดวิทยาโรคคอตีบ ณ วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕ พบผู้ป่วยคอตีบจากจังหวัดเลย ๔๖ ราย เพชรบูรณ์ ๑๐ ราย และหนองบัวลำภู ๓ ราย รวม ๕๙ ราย เป็นชาย ๒๘ ราย หญิง ๓๑ ราย ค่ามัธยฐานอายุ ๑๒ ปี (๑ปี ๕ เดือน - ๗๒ ปี) ผู้ป่วยเสียชีวิต ๒ ราย แบ่งเป็นพื้นที่สำหรับประเมินความเสี่ยง และเข้าควบคุมโรคแล้ว (แสดงระดับหมู่บ้าน/พื้นที่เฉพาะ) ได้แก่ พื้นที่ระบาด (พบผู้ป่วย/พาหะรายใหม่) ๑๒ จุด พื้นที่ติดตามต่อเนื่อง (หลังผู้ป่วย/พาหะทานยา ไม่พบเชื้ออีก ๑ เดือน) ๑๘ จุด พื้นที่ระยะปลอดภัย (ไม่พบผู้ป่วย/พาหะหลังติดตามอีก ๑ เดือน) ๑ จุด พื้นที่เสี่ยง ควรได้รับการป้องกันด้วยวัคซีนก่อน -ยังประเมินไม่ได้-

จำนวนผู้ป่วยคอตีบตามวันเริ่มป่วย แยกรายที่พบในสถานพยาบาล และที่ค้นหาเพิ่มเติม (จากข้อมูล ๕๙ ราย)

จำนวนผู้ป่วยคอตีบตามวันเริ่มป่วยแยกรายพื้นที่ 2 1 1 1 1 4 3 8 4 6 13 3 3 14 1 1 1 10 10 1 1 1 จำนวนผู้ป่วยต่อพาหะ = ๕๙ : ๓๑

มาตรการเร่งด่วน ฝึกทักษะการสอบสวนโรคเชิงลึก และการค้นหาผู้ป่วยผู้สัมผัส สำหรับทีม SRRT ระดับอำเภอ-ตำบล พร้อมศึกษาเรียนรู้มาตรการจากพื้นที่ระบาดขณะนี้ ขยายศักยภาพการตรวจเพาะเชื้อ C. diphtheriae และยืนยันด้วย Biochemistry ในโรงพยาบาลจังหวัด หรือศูนย์วิทย์ฯ ที่เกี่ยวข้อง เพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีน DTP ในเด็กอายุน้อยกว่า ๗ ปี ที่มีอายุเกินจากเกณฑ์อายุนั้นๆ ก่อน ตั้งศูนย์บัญชาการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคคอตีบในจังหวัดใกล้เคียงพื้นที่ระบาด ค้นหาพื้นที่จำเป็นต้องได้รับ dT ล่วงหน้าเพื่อลดอัตราป่วยตายในกลุ่มเสี่ยง รายงานจำนวนผู้ป่วย พาหะ พร้อมทั้งพื้นที่สำหรับประเมินความเสี่ยง และเข้าควบคุมโรคแล้ว เป็นรายสัปดาห์

น May Jun Jul Aug Sep Lao P.D.R request DAT 3 doses First 2 dead cases reported in Dansai, Loei Progressive outbreak in adults in Dansai, Loei and detected confirm cases in Lomkao PB, and Phakao, Loei Spread to elderly and unvaccinated mop-up areas Found first case in Phuluang, Loei Spread to WSP, Loei, and Nhong Bualumpoo (Ped group) Risk of spread to other groups Implementation Early detection Strengthen surveillance in Nongkhai next to Loei & PB Investigation: contact tracing Antibiotic for contact/case/carrier dT mop-up in affected districts Operate war room in Wangsapong, Nongbulumpoo Sero-survey Prepare SRRT and control team Set war room in Dansai Contact tracing + active case finding in cases/carriers’ villages Antibiotic for contact/case/carriers dT mop-up in linked villages Prepare SRRT and control team

ระบบบัญชาการเพื่อป้องกันการระบาดโรคคอตีบ จังหวัดเลย กันยายน – พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ระดับจังหวัด/อำเภอ คณะกรรมการตอบโต้การระบาดโรคคอตีบ ส่วนบังคับบัญชาการ เป็นผู้ตัดสินใจ ตอบสนองเหตุการณ์ มอบหมายงาน รับคำแนะนำทั่วไปจากหน่วยรับผิดชอบ หน่วย Logistic และประสานงาน (เลขาฯ การประชุม) ทีมบริหารจัดการ หน่วยปฏิบัติการสอบสวน วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานโรค หน่วยปฏิบัติการติดตาม อาการผู้ป่วยและการกินยา หน่วยปฏิบัติการด้านวัคซีน และรายงานผลสำเร็จ ทีมข้อมูล และ รายงานโรค ทีมสอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว ทีมติดตามอาการ ผู้ป่วย/ผู้สัมผัส ทีมสุขศึกษา และ Mop-up dT ทีมติดตาม dT/ DTP coverage

ขอบคุณครับ