การนิเทศงานสาธารณสุข คปสอ. จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
Health Promotion & Prevention
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Health Promotion & Prevention
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
การสร้างแผนงาน/โครงการ
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายสำคัญเพื่อพัฒนางานสาธารณสุข ปี 2555
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพนครชัยบุรินทร์ ประจำปี 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบายการขับเคลื่อนงานสาธารณสุข อำเภอเมืองยโสธร ปีงบประมาณ ๒๕๕๘
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนิเทศงานสาธารณสุข คปสอ. จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2556

วัตถุประสงค์ เพื่อนิเทศงาน ให้คำแนะนำ และติดตามควบคุมกำกับการ ปฏิบัติงาน ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข 2. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานสาธารณสุข ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล 3. เพื่อรับทราบปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ของ คปสอ 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่บุคลากรในระดับพื้นที่

ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ สสจ.อุดรธานี ปีงบประมาณ 2556 ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ สสจ.อุดรธานี ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มงาน น้ำหนัก (%) จำนวน ตัวชี้วัดหลัก 1. กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ 6 3 2. กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 18 7 3. กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5 4. กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค 15 5. กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล 2 6. กลุ่มงานทันตสาธารณสุขและคุณภาพบริการ 19 7. กลุ่มงานสุขภาพภาคประชาชน 1 8. กลุ่มงานประกันสุขภาพ 8 9.กลุ่มงานบริหาร รวม 100 29

นโยบายสำคัญเพื่อพัฒนางานสาธารณสุข ปี 2556 นพ.สัญชัย ปิยะพงษ์กุล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ตรงเวลา สามัคคี มีส่วนร่วม ชาวอุดรธานี สุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข / เศรษฐกิจพอเพียง ลดปัญหาโรค,ภัยสุขภาพ DHF,AIDS,TB,AF,โรคเรื้อน โรคติดต่อ - เด็ก IQ,EQ -นร./เยาวชน (เพศศีกษา) วัยทำงาน (คนไทยไร้พุง) - สูงอายุ (คุณภาพชีวิต) ส่งเสริมสุขภาพทักษะชีวิต สุขบัญญัติ 3 ส. , 3 อ. ลดหวาน มัน เค็ม โรคไม่ติดต่อ MS,DM,HT,หัวใจ,สมอง, มะเร็งท่อน้ำดี,มะเร็งปากมดลูก,มะเร็งเต้านม, ยาเสพติด, สุขภาพจิต,โรคซึมเศร้า, EMS ,อุบัติเหตุ P ส่งเสริม P ป้องกัน ปรับสิ่งแวดล้อม R ฟื้นฟู Rx รักษา อาหารปลอดภัย(ร้านก๋วยเตี๋ยว,น้ำมันทอดซ้ำ,ดินประสิว),รร.ส่งเสริมสุขภาพ,ศูนย์เด็กเล็ก,วัดส่งเสริมสุขภาพ,คบส. <บุหรี่,แอลกอฺฮอร์ (กฎหมาย)> บริการรักษา ทุพพลภาพ พิการ ท.74 SERVICE PLAN บูรณาการเชื่อมโยง 3˚- 2˚- 1˚เขตเมือง,เขตชนบท,แพทย์ทางเลือก,STEMI ,STROKE, STONE,ทันตกรรม

ระบบบริหารจัดการ สสจ. สสอ. พัฒนาบุคลากร COMPETENCY,PMQA, การบริหารจัดการที่ดี , เครื่องชี้วัดชัดเจน(KPI) , SRRT,ZONE เข้มแข็ง,อำเภอเข้มแข็ง,ระบบข้อมูลสารสนเทศ , สื่อสารประชาสัมพันธ์,EVALUATION 4 ด ,10 ด , Personal KPI รพศ. รพช. แผนเงินบำรุง, แผน P&P, SERVICE PLAN , PCUรพ. , COC รพ.สต. แผนเงินบำรุง, แผน P&P,แผนสุขภาพตำบล, PCA,อปท.เข้มแข็ง , กองทุนสุขภาพ ชุมชน ภาคีสุขภาพ 5 อ., สมัชชาสุขภาพ, ชมรมสร้างสุขภาพ, หมู่บ้านจัดการสุขภาพ, หมู่บ้านต้นแบบ,แผนชุมชน , IQ ,EQ ,เด็กตั้งท้อง,คนไทยไร้พุง, DM , HT อสม. นักจัดการสุขภาพร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น

การจัดทำแผนส่งเสริม ป้องกันโรคระดับจังหวัดและอำเภอ 4/4/2017 การจัดทำแผนส่งเสริม ป้องกันโรคระดับจังหวัดและอำเภอ 6

AREA HEALTH BOARD (เขตสุขภาพ) (PROVIDER BOARD) Purchaser 1.Service Achievement Plan 10 สาขา รายเขต รายจังหวัด ราย รพ. 1.1 10สาขา +Area Problem (เช่นมะเร็งท่อนำดีอีสาน) +Special (โครงการพระราชดำริ +สาธารณสุขชายแดน + ยาเสพติด ) 1.2Refer System .3 การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย .4 ร่วมกับเอกชน,รพ.กระทรวงอื่นๆ .5 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ .6 ฯลฯ 2. Administrative Plan 2.1 เงินบำรุง 2.2 จัดซื้อยาร่วม,วัสดุ Lab. ร่วม,วัสดุการแพทย์ร่วม 2.3 แผนบุคลากร 2.4 แผนอภิบาลระบบเช่นตรวจสอบ/วัดประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ฯลฯ AREA HEALTH BOARD (เขตสุขภาพ) (PROVIDER BOARD) Purchaser (สปสช. ปกส. กรมบัญชีกลาง ,อปท.,รัฐวิสาหกิจ) 4. แผนส่งเสริมป้องกันโรค และร่วมภาคีเครือข่าย 4.1 กลุ่มวัยต่างๆ (ทารก,0-2ปี,3-5ปี,นักเรียน,วัยรุ่น+BS)ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทย, วัยทำงาน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 4.2 ป้องกันโรคไม่ติดต่อตามปัญหาของพื้นที่(เช่น อาชีวอนามัย COPD มะเร็งในพื้นที่) 4.3 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ 4.4 อาหารปลอดภัย ,สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4.5 สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ(เหล้า บุหรี่ Road Safety 4.6 DHS ,ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคส่วนต่างๆ 4.7 ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 4.8 ลดตาย อุบัติเหตุ เด็กจมน้ำตาย ฯลฯ 3. Investment Plan เขต

SERVICE ACHIEVEMENT PLAN 25 ธ.ค.2555 SERVICE ACHIEVEMENT PLAN Key Success Factor 1. Service delivery Model 2. HRM , HCW Development 3. Financing 4. Health Information 5. Medical Equipment and Medical Material supply ,Technology Assessment 6. Governance ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & Outreach OP 2.Centralize IP 3. One Province same Hospital One Region One Ownership SERVICE ACHIEVEMENT PLAN กลไกการขับเคลื่อน 1.Leadership -กระทรวง –สป+กรม +สวรส+สปสช+สรพ+เขต จังหวัดฯลฯ -M&E -แก้ปัญหา 2.พลังทางปัญญา -การทำข้อมูลโดยสร้างการมีส่วนร่วมระดับต่างๆทาง Horizontal จากเครือข่ายวิชาชีพ เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญต่างๆโดยเฉพาะด้านจัดการบริการ,วิชาการ การบริหารระบบบริการ พลังทางการสื่อสาร -จาก Data Information ความรู้ การปฏิบัติ 3.เครือข่ายวิชาชีพ ในระดับชาติ พวง จังหวัด 4.เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ 10Care จิตเวช หัวใจ อุบัติเหตุ ไต ตา CFO ฯลฯ 5. วัฒนธรรมการทำงานร่วมกัน “พบส. ยุคใหม่” “พี่น้องช่วยกัน” Seamless & Lean Service One Province Same Hospital One Region One Ownership 6.สำนักงานเครือข่ายบริการ (Strong Secretariat Office) 7. งบประมาณผลักดันและขับเคลื่อนเครือข่ายบริการ ละ5 ล้านบาทและ Non-UC จว.ละ~10ล้านและปรับเปลี่ยนระเบียบที่เป็นอุปสรรค Purpose 1. Better Service 1) Accessibility - เข้าถึงบริการทุกมิติ 2) Faster -คิวสั้นลง 3) Safer –ตายน้อยลง - โรคแทรกซ้อนน้อยลง 2. More Efficiency 1) Management Efficiency CFO , แผนเงินบำรุง , เงินลงทุน UC ระดับต่างๆ ,จัดซื้อร่วม 2) Clinical Efficiency 3) Operational Efficiency-Outsource -ไม่ซ้ำซ้อน

IMPACT GOAL INTERMEDIETE OUTCOME PROCESS OUTPUT

แสดงภาพกรอบ KPI 3 แผ่น 10

11

12

เพิ่ม ไข้เลือดออก และ TB ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 KPI = 107 PI = 30 รวม = 137 KPIs 66 คำรับรอง = 66 นโยบายเน้นหนัก= 25 KPIs 25 เพิ่ม ไข้เลือดออก และ TB

1. อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน เป้าหมายระยะ 3-5 ปี (ระดับกระทรวง ) 10 ตัวชี้วัด เด็ก สตรี 1. อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) 2. อัตราตายทารก (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) เด็กปฐมวัย 3. อัตราการป่วยด้วยโรคหัด (ไม่เกิน 0.5 ต่อประชากรแสนคน) เด็กวัยรุ่น วัยเรียน 4. อัตราการตั้งครรภ์ในมารดาอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรพันคน) 5. ร้อยละของเด็กนักเรียนเป็นโรคอ้วน (ไม่เกิน 15) 6. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ อายุ 0-15 ปี (ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน) วัยทำงาน 7. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ (ลดลง 2.ใน 3) 8. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อประชากรแสนคน) 9. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน) 10. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ (ไม่เกิน 24 ต่อประชากรแสนคน) เป้าหมายระยะ 1-2 ปี (เขตสุขภาพ/ จังหวัด) 8 ตัวชี้วัด ระบบบริการ 11. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด (ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) 12. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) 13. ร้อยละของเด็กปฐมวัย มีปัญหาฟันน้ำนมผุ (ไม่เกิน 57) 14. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) 15. ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (ไม่น้อยกว่า 90) 16. สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. (มากกว่าร้อยละ 50) 17. ร้อยละของ รพศ. ที่มี CMI ไม่น้อยกว่า 1.8 และ รพท. ไม่น้อยกว่า 1.4 (เท่ากับ 80) 18. จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50) การป้องกันควบคุมโรค 19. อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ0.12 ต่อปี 20. อัตราตายด้วยโรควัณโรคน้อยกว่าร้อยละ 5 ยาเสพติด 21. ร้อยละผู้เสพยาเสพติดที่ผ่าน การบำบัดที่ได้รับการติดตามไม่ กลับไปเสพซ้ำ (80) การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 22. ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยง ระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและ ท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้SRM หรือเครื่องมืออื่นๆในการทำแผนพัฒนาสุขภาพ (ไม่น้อยกว่า 25) ธรรมาภิบาล (ประสิทธิภาพ) 23. ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีปัญหาทางการเงินลดลง (50) 24. ต้นทุนค่ายาและค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ เฉลี่ยลดลง (ร้อย ละ 10) (ในเขตสุขภาพเฉลี่ยลดลง) 25. ร้อยละของการเบิกจ่ายงบลงทุนในปีงบประมาณพ.ศ. 2556 (ไม่น้อย กว่า 80) เป้าหมายระยะ 1 ปี (เขตสุขภาพ/จังหวัด) 7 ตัวชี้วัด