บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ค่าของทุน The Cost of Capital
บทที่ 9: ผลของการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่อการค้าระหว่างประเทศ
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
Lecture 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
Theory of Firm.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
การวางแผนกลยุทธ์.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
Financial Management.
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5) บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5) ต้นทุนการผลิต (บทที่ 6) รายรับจากการผลิต (บทที่ 6)

การผลิต (Production) การผลิต : กระบวนการหรือกิจกรรมใดๆ ที่เปลี่ยนแปลงหรือแปรรูปปัจจัยการผลิตให้เป็นสินค้าและบริการ สินค้าและบริการที่ผลิตได้ถือเป็นเศรษฐทรัพย์ เป้าหมายของผู้ผลิต คือ กำไรสูงสุด (Maximize Profit)

ประสิทธิภาพในการผลิต ประสิทธิภาพทางเทคนิค (Technical Efficiency) : วิธีการผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด โดยให้ผลผลิตเท่ากับวิธีอื่น ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Efficiency) : วิธีการผลิตที่เสียต้นทุนต่ำสุด โดยให้ผลผลิตเท่ากัน เป็นการนำราคา ปัจจัยการผลิตมาพิจารณาด้วย

การผลิตแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะสั้น (Short Run) : ช่วงเวลาที่จะต้องมีปัจจัยคงที่อย่างน้อยหนึ่งปัจจัย ดังนั้นการที่จะผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในระยะสั้นทำได้โดยการเพิ่มปัจจัยแปรผัน ระยะยาว (Long Run) : ช่วงระยะเวลาที่ไม่มีปัจจัยใดคงที่ ปัจจัยการผลิตทุกชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้

การวิเคราะห์การผลิตในระยะสั้น ปัจจัยการผลิตในระยะสั้น ปัจจัยคงที่ (eg. land, capital) ปัจจัยแปรผัน (eg. labor, raw material) ฟังก์ชั่นการผลิต การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตต่างๆ และจำนวนผลผลิต เมื่อกำหนดเทคนิคการผลิตให้ Total Product (TP) = f (a1, a2, a3) = f (ปัจจัยคงที่, ปัจจัยแปรผัน)

ความหมายและความสัมพันธ์ระหว่าง ผลผลิตแบบต่างๆ ผลผลิตรวม (Total Product : TP) : ผลผลิตทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับ จากการใช้ปัจจัยการผลิตแบบแปรผันร่วมกับปัจจัยคงที่ ผลผลิตเพิ่ม (Marginal Produc : MP) : จำนวนผลผลิตที่เพิ่มขึ้น เมื่อใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MP = TP / L, MPn = TPn – TPn-1 ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product :) : ผลผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยปัจจัยแปรผัน AP = TP / L

ความสัมพันธ์ระหว่าง TP , MP และ AP

ความสัมพันธ์ระหว่าง TP , MP และ AP (continued) TP & MP : Max TP, MP = 0 AP & MP : AP increase, when MP > AP AP decrease, when MP < AP

กฏการลดน้อยถอยลงของผลผลิตเพิ่ม (Law of Diminishing Marginal Physical Returns) ถ้ามีปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งคงที่แล้ว การเพิ่มปัจจัยแปรผันขึ้นเรื่อย จะก่อให้เกิดการลดน้อยถอยลงของผลผลิตหน่วยสุดท้ายในที่สุด และผลผลิตหน่วยสุดท้ายอาจจะลดลงเท่ากับศูนย์หรือต่ำกว่าศูนย์ก็ได้

การแบ่งช่วงของการผลิต (Stage of Production)

ทฤษฎีการผลิตระยะยาว การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว ทำได้โดยใช้เครื่องมือ การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว ทำได้โดยใช้เครื่องมือ - เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line) - เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line) กฏผลได้ต่อขนาด (Law of return to scale) การประหยัดและไม่ประหยัดเนื่องจากขนาด (Economies of scale and Diseconomies of scale)

เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line) เส้นที่แสดงการใช้ปัจจัยการผลิต 2 ชนิดในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งให้ผลผลิตเท่ากัน

อัตราการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน (Marginal Rate of Technical Substitution : MRTS) จำนวนปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งที่ลดลงโดยที่ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หน่วย เพื่อให้ได้ผลผลิตจำนวนเท่าเดิม MRTSLK = K / L : slope of IQ การใช้ปัจจัยการผลิต L เพิ่มขึ้น โดยลดปัจจัยการผลิต K ลง MRTSKL = L / K การใช้ปัจจัยการผลิต K เพิ่มขึ้น โดยลดปัจจัยการผลิต L ลง

กฎการลดน้อยถอยลงของอัตราการใช้ ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน ค่า MRTS ของปัจจัยการผลิต 2 ชนิดจะลดลงเรื่อยๆ เมื่อใช้ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น และปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งลดลง

เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line) เส้นที่แสดงส่วนผสมของปัจจัยการผลิต 2 ชนิดที่แตกต่างกันที่สามารถซื้อได้ด้วยเงินทุนจำนวนเดียวกัน ปัจจัย K เส้นต้นทุนเท่ากัน slope = PL / PK 10 4 5 12 ปัจจัย L

การเปลี่ยนแปลงของเส้นต้นทุนเท่ากัน เส้นต้นทุนเท่ากันเปลี่ยนแปลงได้ 2 กรณี คือ ราคาปัจจัยการผลิตเปลี่ยน รูป ก งบประมาณการผลิตเปลี่ยน รูป ข ปัจจัย K ปัจจัย K ปัจจัย L รูป ก ปัจจัย L รูป ข

การใช้ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เหมาะสม เงื่อนไขการผลิตที่เหมาะสมกำหนดจากจุดที่เส้นผลผลิตเท่ากันสัมผัสกับเส้นต้นทุนเท่ากัน โดย ณ จุดสัมผัส ค่าความชันของเส้น Isoquant และเส้น Isocost จะมีค่าเท่ากัน ดุลยภาพการผลิต ปัจจัย K ปัจจัย L ที่จุด E ค่าความชันของ Isocost = ค่าความชัน Isoquant = PL / PK L1 K1 E

เส้นแนวทางขยายการผลิต (The Expansion Path) เส้นที่แสดงส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เสียต้นทุนต่ำสุด

กฎว่าด้วยผลได้ต่อขนาด (Law of Return to Scale) Increasing Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้นเนื่องจากการประหยัดเนื่องจากขนาด (Economies of Scale) : division of labor, specialization, internal/external economies Constant Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดคงที่ Decreasing Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดลดลง เนื่องจากการไม่ประหยัด (Diseconomies of scale) :internal/ external diseconomies