Boolean Algebra วัตถุประสงค์ของบทเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ลอจิกเกต (Logic Gate).
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Functional Programming
Microsoft Excel 2007.
อสมการ.
กลศาสตร์ควอนตัมมี postulates 5 ข้อ คือ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
EEE 271 Digital Techniques
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Digital Logic and Circuit Design
Combination Logic Circuit
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
Boolean algebra George Boole ( ) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษผู้คิดค้น
Mathematics for computing I
Operators ตัวดำเนินการ
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
Boolean Algebra พีชคณิตบูลลีน บทที่ 4.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการ(Operator)
รูปแบบคาโนนิคัล หรือรูปแบบบัญญัติ หรือรูปแบบมาตรฐาน canonical forms
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
นิพจน์และตัวดำเนินการ
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
Operators ตัวดำเนินการ
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Chapter 1 Mathematics and Computer Science
ครั้งที่ 3 การวิเคราะห์ และ ออกแบบวงจรเกต
Digital Lecture 3 Boolean Algebra.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Boolean Algebra วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักวิธีการเขียนนิพจน์แบบบูล (Boolean expression) ในรูปแบบต่างๆ สามารถเขียนนิพจน์แบบบูลให้อยู่ในรูปแบบที่สั้นลงได้ ศึกษาวิธีแปลงนิพจน์แบบบูลไปเป็นวงจรผสม (combination circuit) 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Algebra Boolean algebra คือระบบทางคณิตศาสตร์ที่นักคณิตศาสตร์ชื่อ George Boole คิดขึ้นในปี ค.ศ. 1854 ซึ่งประกอบด้วย เซ็ตของสมาชิก (B) binary operation 2 อย่างคือ + และ . เครื่องหมาย = วงเล็บเพื่อแสดงลำดับของการทำ operation โดยที่ข้อความ (postulate) ต่อไปนี้ต้องเป็นจริงด้วย P1: operation + และ . ต้องมีคุณสมบัติปิด (closed) สำหรับทุก x,y  B x+y  B และ x.y  B 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Algebra P2: เซ็ต B จะต้องประกอบด้วยสมาชิกที่มีคุณสมบัติเอกลักษณ์ (identity element) แสดงด้วย 0 หรือ 1 สำหรับทุก x  B 0+x = x+0 = x และ 1.x = x.1 = x P3: operation + และ . ต้องมีคุณสมบัติการสลับที่ (commutative) สำหรับทุก x,y  B x+y = y+x และ x.y = y.x 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Algebra P4: operation + และ . ต้องมีคุณสมบัติการกระจาย(distributive) สำหรับทุก x,y,z  B x+(y.z) = (x+y).(x+z) และ x.(y+z) = (x.y)+(x.z) P5: สำหรับทุกสมาชิก x ใน B จะต้องมี x' ซึ่งเป็น compliment ของ x ซึ่งจะทำให้ x+x' = 1 และ x.x' = 0 P6: ในเซ็ต B จะต้องมีสมาชิกอย่างน้อยสองตัวที่ไม่เท่ากัน x,y  B โดยที่ x  y 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Algebra: Rules and Theories Principle of Duality: ในพีชคณิตบูลีน expression ทางซ้ายมือและทางขวามือของเครื่องหมาย = จะยังคงเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเครื่องหมายระหว่าง + กับ . และ 1 กับ 0 ทฤษฎีอื่นๆ - x' จะมีเพียงค่าเดียวโดยจะขึ้นอยู่กับค่า x - สำหรับทุกสมาชิก x ในเซ็ต B x+1 = 1 และ x.0 = 0 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Algebra: Rules and Theories - identity element จะเป็น complement ของ identity element ที่เหลือ 0' = 1 และ 1' = 0 - Idempotent law x+x = x และ xx = x - Involution law (x')' = x 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Algebra: Rules and Theories - Absorption law x+xy = x และ x(x+y) = x - สำหรับทุกคู่ของสมาชิก x,y x+(x'.y) = x+y และ x.(x'+y) = xy - Operators + และ . มีคุณสมบัติ associative x+(y+z) = (x+y)+z และ x(yz) = (xy)z 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Algebra: Rules and Theories - DeMorgan’s law (x+y)' = x' y' (xy)' = x' +y' (ในระบบดิจิตอล สมาชิกในเซ็ต B คือ 0 และ 1 เท่านั้น) + คือ or-operation ในระบบลอจิก . คือ and-operation ในระบบลอจิก 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Formulas and Functions Boolean formula หรือ expression เป็นข้อความที่ประกอบด้วยค่าคงที่หรือตัวแปรทาง Boolean กับ Boolean operation ที่ใช้ในการอธิบายการทำงานของ Boolean function โดยจะอยู่ในรูปของ f(x,y,z) = Boolean expression หรือ f = Boolean expression โดยอาจจะอยู่ในรูปของ normal formula หรือ canonical formula 2/2550 A. Yaicharoen

Canonical Formulas เป็นการเขียน Boolean function ขึ้นจาก truth table โดยในแต่ละเทอมจะต้องมีตัวแปรครบทุกตัวแปร มีสองรูปแบบคือ 1. Minterm canonical formulas แต่ละเทอมจะอยู่ในรูปของผลคูณ แล้วจึงนำมาบวกกัน 2. Maxterm canonical formulas แต่ละเทอมจะอยู่ในรูปของผลบวก แล้วจึงนำมาคูณกัน 2/2550 A. Yaicharoen

Minterm Canonical Formulas อาจเรียกเป็น standard sum-of-products หรือ disjunctive canonical formulas สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของ m-notation f(v1,v2,...,vn) = mi + mj + mk + ml โดยที่ 0  i,j,k,l  2n-1 หรือ f(v1,v2,...,vn) = m(i,j,k,l) 2/2550 A. Yaicharoen

Maxterm Canonical Formulas อาจเรียกเป็น standard product-of-sums หรือ conjunctive canonical formulas สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของ M-notation f(v1,v2,...,vn) = Mi Mj Mk Ml โดยที่ 0  i,j,k,l  2n-1 หรือ f(v1,v2,...,vn) = M(i,j,k,l) 2/2550 A. Yaicharoen

Examples Normal form: f(x,y,z) = x'y+z Minterm canonical formulas: f(x,y,z) = x'yz'+x'yz+x'y'z+xy'z+xyz m-notation: f(x,y,z) = m2+m3+m1+m5+m7 f(x,y,z) = m(1,2,3,5,7) 2/2550 A. Yaicharoen

Examples Normal form: f(x,y,z) = (x'+z).(y+z) Maxterm canonical formulas: f(x,y,z) = (x+y+z).(x'+y+z).(x'+y'+z) M-notation: f(x,y,z) = M0.M4.M6 f(x,y,z) = ∏M(0,4,6) 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Expression Manipulation 1. Equation complementation เป็นการหา complement ของสมการโดยใช้กฎของ DeMorgan 2. Expansion about a variable เป็นการจัดให้อยู่ในรูป f(x1,...,xi,...,xn) = xig1+xig2 หรือ (xi+h1).(xi+h2) โดยที่ g1,g2,h1,h2 ไม่มี xi อยู่ด้วยเลย ซี่งจะใช้ Shannon’s expansion theorem ในการจัด f(x1,...,xi,...,xn) ให้อยู่ในรูป = xi.f(x1,...,1,...,xn)+xi'.f(x1,..., 0,...,xn) หรือ = [xi+f(x1,...,0,...,xn)].[xi'+f(x1,..., 1,...,xn)] 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Expression Manipulation 3. Equation simplification เป็นการหารูปที่สั้นที่สุดของสมการ โดยใช้กฎต่างๆของ Boolean algebra 4. Reduction theorem เป็นวิธีการทำให้ได้รูปสมการที่สั้นลงโดย ใช้ Shannon’s reduction theorems ช่วยลดรูปสมการ xi.f(x1,...,xi,...,xn)=xi.f(x1,...,1,...,xn) หรือ xi+f(x1,..., xi,...,xn)=xi +f(x1,...,0,...,xn) และ xi'.f(x1,...,xi,...,xn)=xi'.f(x1,...,0,...,xn) หรือ xi'+f(x1,..., xi,...,xn)=xi' +f(x1,...,1,...,xn) 2/2550 A. Yaicharoen

Boolean Expression Manipulation 5. จัดให้อยู่ในรูป Minterm canonical formulas 6. จัดให้อยู่ในรูป Maxterm canonical formulas 7. การหา complement ของ canonical formulas สามารถทำได้โดยการหาเทอมที่เหลืออยู่ในตารางค่าความจริง 2/2550 A. Yaicharoen