ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
Knowledge Sharing Basic Of Bearing
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวพุธ (Mercury).
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ฝึกปฏิบัติการ เทคนิค วิธีการใช้สื่อการสอน ในการ สอนฟิสิกส์ผ่านเน็ต ฟิสิกส์ 1.
ทรงกลม.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตัวอย่างที่ 1 เครื่องบินทิ้งระเบิดลำหนึ่งกำลังบินตามแนวระดับด้วยความเร็วคงที่ 720 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อยู่สูงจากพื้นดินเป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร เมื่อเครื่องบินลำนี้ปล่อยลูกระเบิดลงสู่เป้าหมายบนพื้นดิน ปรากฏว่าลูกระเบิดลงสู่เป้าหมายพอดี มุมที่นักบินเล็งเป้าหมายด้วยกล้องส่องทางไกลขณะปล่อยลูกระเบิดนั้น จะเป็นกี่องศาเทียบกับแนวทางการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน

ตัวอย่างที่ 2 เมื่อเล็งปากกระบอกปืนตรงเป้าหมายกระป๋อง พบว่ามุมที่ลำกระบอกปืนทำกับแนวระดับเท่ากับ 45 องศา แล้วเหนี่ยวไกปล่อยกระสุนออกไป ถ้าทันทีที่กระสุนหลุดจากปากกระบอกปืน กระป๋องก็หล่นลงสู่พื้นโดยอิสระ จากการทดลองพบว่า กระสุนกระทบเป้าหมายพอดี ถ้าอัตราเร็วเมื่อกระสุนหลุดจากปากกระบอกปืนเท่ากับ 100 เมตรต่อวินาที และกระป๋องอยู่สูงจากพื้น 100 เมตร จงคำนวณหาตำแหน่งที่กระสุนกระทบเป้า ตัวอย่างที่ 3 ยิงวัตถุด้วยความเร็วต้น 20 m/s ทำมุม 450 กับแนวระดับ จงหาระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้บนแกน x และหากยิงวัตถุด้วยความเร็วและมุมเท่าเดิมขึ้นไปบนพื้นเอียงที่เอียงทำมุม 300 กับแนวระดับ จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ได้บนพื้นเอียง

การประยุกต์การเคลื่อนที่แบบวงกลม 1. การเคลื่อนที่บนถนนโค้ง คำถาม : รถยนต์เคลื่อนที่ไปตามถนนโค้งได้เพราะเหตุใด ตอบ เพราะมีแรงเสียดทานที่กระทำกับด้านข้างของยางรถทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลางเพื่อเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของรถ

พิจารณาสมการ คำถาม : เพราะเหตุใดรถที่เลี้ยวโค้งบนถนนราบด้วยอัตราเร็วสูงจึงต้องใช้แรงศูนย์กลางมากกว่าการเลี้ยวโค้งด้วยอัตราเร็วต่ำในบริเวณโค้งเดียวกัน และมีโอกาสไถลออกนอกทางได้มากกว่า คำถาม : รถยนต์ที่แล่นบนถนนราบเมื่อเลี้ยวโค้งที่มีรัศมีความโค้งสั้นมาก กับเลี้ยวโค้งที่มีรัศมีความโค้งยาวมากด้วยอัตราเร็วเท่ากัน กรณีไหนมีโอกาสไถลออกนอกทางได้มากกว่ากันเพราะเหตุใด

การเคลื่อนที่ของรถจักรยานยนต์บนทางโค้งราบ Rcos Rsin รูปที่ 1 แล่นทางตรงราบ รูปที่ 2 แล่นทางโค้งราบ

การเคลื่อนที่ของรถบนทางโค้งเอียง Ncos Ncos Nsin Nsin cos ƒsin รูปที่ 3 แล่นบนพื้นเอียงที่ไม่มีแรงเสียดทาน รูปที่ 4 แล่นบนพื้นเอียงที่มีแรงเสียดทาน

แสดงการเคลื่อนที่ของลูกกลมบนทางโค้งกลมตามแนวดิ่ง 2. การเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวดิ่ง รูปที่ 5 แสดงการเคลื่อนที่ของลูกกลมบนทางโค้งกลมตามแนวดิ่ง

3. การเคลื่อนที่ของดาวเทียม แรงดึงดูดระหว่างมวล ทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง รูปที่ 6 แสดงการเคลื่อนที่ของดาวเทียมมวล m รอบโลกมวล M

ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบวงกลม ตัวอย่างที่ 1 ผูกลูกตุ้มไว้กับปลายเชือกยาว 1 เมตร แขวนไว้ตามแนวดิ่งแล้วแกว่งให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมตามแนวระดับโดยปลายเชือกด้านบนหยุดนิ่ง ถ้าแนวของเส้นเชือกทำมุม 30 องศากับแนวดิ่ง จงหาเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ครบ 1 รอบพอดี ตัวอย่างที่ 2 จงคำนวณหาอัตราเร็วของดาวเทียมที่โคจรรอบโลก สมมติว่าดาวเทียมโคจรที่ระยะสูง 200 กิโลเมตรเหนือผิวโลก ซึ่ง ณ ที่นั้นค่า g = 9.0 เมตรต่อวินาที2 กำหนดให้รัศมีของโลก 6,400 กิโลเมตร

ตัวอย่างที่ 3 มวล m ผูกติดกับเชือกเบาซึ่งมีสปริงค่าคงที่ความยืดหยุ่น k ติดอยู่ตรงกลางโดยมวล m ถูกทำให้หมุนรอบรูตรงกลางโต๊ะเอียงลื่นด้วยความเร็ว v คงที่ ถ้าให้มวล M ที่แขวนอยู่กับเชือกหยุดนิ่ง วงโคจรของ m จะเป็นวงกลมหรือไม่ เพราะเหตุใด จงแสดงให้เห็น M ก ข Top view Side view m v

ตัวอย่างที่ 4 แผ่นโลหะกลมรัศมี 0 ตัวอย่างที่ 4 แผ่นโลหะกลมรัศมี 0.1 เมตร หมุนได้คล่องรอบแกน และมีเชือกเบาพันรอบขอบโลหะโดยปลายเชือกข้างหนึ่งผูกมวล m กิโลกรัม ดังรูป ขณะหนึ่งวัตถุเคลื่อนที่ลงด้วยความเร็ว 0.1 เมตรต่อวินาที อีก 4 วินาทีต่อมา ปรากฏว่าวัตถุ m เคลื่อนที่ได้ 1.2 เมตร ถ้าความเร่งของ m คงที่ จงหาขนาดความเร่งสู่ศูนย์กลาง และขนาดความเร่งตามแนวเส้นสัมผัสของจุดบนขอบโลหะขณะใด ๆ m