แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการวิจัย(Research Process)
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
การวางแผนและการดำเนินงาน
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การใช้งานโปรแกรม SPSS
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
Menu Analyze > Correlate
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
วิจัย (Research) คือ อะไร
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
กระบวนการวิจัย Process of Research
(Descriptive Statistics)
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics

ทำไมต้องศึกษา สถิติ ?

เหรียญรางวัลโอลิมปิควิชาการ มีผลอย่างไรต่อวิทยาศาสตร์ของ ประเทศ ? Correlation? Citation = 3861 x จำนวนเหรียญ

ผลสรุ ป ปัญหา คำถาม เก็บรวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูล สรุปและ อภิปรายผล ตอบปัญหา หรือคำถาม ได้หรือไม่ จบ สมมติ ฐาน ข้อมูลที่ ต้องการ ผล ได้ ไม่ได้ (Statistical Life Cycle : SLC)

สถิติ 1. จำนวนหรือค่าที่ได้จากการ รวบรวมข้อมูล แสดงถึง ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ อย่างมีความหมาย เช่น จำนวน...

สถิติ 2. ศาสตร์ว่าด้วยระเบียบวิธี ทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมาย ข้อมูล

สถิติ พรรณนา สถิติอนุมาน Statistics

สถิติพรรณนา (Descriptive statistics) สถิติพรรณนา (Descriptive statistics) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ สถิติบรรยาย ” เป็นสถิติที่มุ่งศึกษาเพื่อ อธิบายเรื่องราวต่างๆ ของกลุ่มประชากร (Population) สถิติพรรณนา มีหลายชนิด ได้แก่ สถิติพื้นฐาน เช่น ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ การวัดตำแหน่ง เช่น อันดับที่ ควอไทล์ เด ไซล์ เปอร์เซ็นไทล์ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เช่น ฐานนิยม มัธยฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ย เรขาคณิต ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิค การวัดการกระจาย เช่น พิสัย พิสัยควอไทล์ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน สัมประสิทธิ์กระจาย

สถิติอ้างอิง (Inferential statistics) หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สถิติอนุมาน เป็นสถิติที่มุ่งศึกษาเพื่อลง ข้อสรุปของประชากร โดยเก็บรวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มย่อยที่เรียกว่า กลุ่ม ตัวอย่าง (Sample) แล้วนำผลการศึกษา ไปสรุปอ้างอิงถึงกลุ่มใหญ่ที่เรียกว่า กลุ่ม ประชากร (Population) ซึ่งเป็นกลุ่ม เป้าหมายที่ต้องการศึกษา สถิติอ้างอิงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ – การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน ค่าต่างๆ ที่คำนวณได้จากข้อมูลที่เก็บ รวบรวมจากกลุ่มตัวอย่าง เรียกว่า ค่าสถิติ (Statistic) มีคุณสมบัติเป็นตัวแปร (Variable) สถิติอ้างอิง (Inferential statistics)

ประชากร (Population) หมายถึงกลุ่ม ของสมาชิกทุกหน่วยที่เราต้องการศึกษา ลักษณะ (Characteristics) บางอย่าง พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึง ตัวเลขซึ่งแสดงคุณสมบัติบางประการของ ประชากร ตัวอย่าง (Sample) หมายถึงกลุ่มย่อยของ สมาชิกในกลุ่มประชากรที่เลือกมาเพื่อศึกษา ลักษณะที่สนใจ ค่าสถิติ (Statistic) หมายถึงตัวเลขการ วัดผลที่ได้จากตัวอย่าง ตัวแปร (Variable) หมายถึงลักษณะของ ประชากรที่เราสนใจวิเคราะห์ คำศัพท์ของคำที่ เกี่ยวข้อง

การเก็บรวบรวม ข้อมูล การนำเสนอ ข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูล การแปล ความหมาย ข้อมูล ขั้นตอนทางสถิติ

แบบฝึกทักษะ เอกสารประกอบการสอน หน้า 6