แนวโน้มของตารางธาตุ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
Electronic Transition
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Ground State & Excited State
Conductors, dielectrics and capacitance
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Intermolecular Forces
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พันธะเคมี Chemical bonding.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
Wilhelm Conrad Röntgen at the University of Wurzburg in Germany
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
พลังงานไอออไนเซชัน.
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
Periodic Table.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Johann Dobereiner Johann Dobereiner จัดเรียงธาตุเป็นหมวดหมู่ โดยนำธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก.
สื่อประกอบการเรียนการสอน การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1..
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
เป็นแหล่งพลังงานจ่ายไฟ ให้แก่มอเตอร์สตาร์ท และ
สารประกอบ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
สื่อประกอบการเรียนการสอน วิชา ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
การจัดธาตุเป็นหมวดหมู่
พันธะเคมี.
วิทยาศาสตร์ Next.
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวโน้มของตารางธาตุ

สมบัติต่างๆในตารางธาตุ ขนาดอะตอม ขนาดไอออน IE EA EN E0 จุดเดือด จุดหลอมเหลว

ขนาดอะตอม ตามหมู่ ขนาดอะตอมจะโตขึ้นจากบนลงล่าง ตามหมู่ ขนาดอะตอมจะโตขึ้นจากบนลงล่าง เพราะ ระดับพลังงานสูงขึ้น ตามคาบ ขนาดอะตอมจะเล็กลงจากซ้ายไปขวา เพราะ ธาตุแต่ละตัวอยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน แต่จำนวนโปรตรอนเพิ่มมากขึ้น จึงดึงดูดอิเล็กตรอนได้มากขึ้นตามลำดับ

ขนาดไอออน ไอออนบวก ขนาดจะเล็กลงเพราะจ่ายอิเล็กตรอน ไอออนลบ ขนาดจะเพิ่มขึ้น เพราะรับอิเล็กตรอน

EN (Electron Negativity) คือ ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอน โดยธาตุที่มีขนาดเล็กจะดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดีกว่าธาตุที่มีขนาดใหญ่ เพราะธาตุขนาดเล็กมีแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนมาก

IE (Ionization Energy) คือ พลังงานอย่างน้อยที่ดึงอิเล็กตรอนให้หลุดจากอะตอมในสภาวะแก็ส ตามหมู่ จะต่ำลงจากบนลงล่าง ตามคาบ จะสูงขึ้นจากขวาไปซ้าย ยกเว้น หมู่ 2 สูงกว่า หมู่ 3 และ หมู่ 5 สูงกว่า หมู่ 6

EA (Electron Affinity) คือ พลังงานที่คายออกมาเพื่อรับอิเล็กตรอนเข้าไปอยู่ในอะตอมในภาวะแก็ส ตามหมู่ จะต่ำลงจากบนลงล่าง ตามคาบ จะสูงขึ้นจากขวาไปซ้าย ยกเว้น หมู่ 2 และ หมู่ 5 จำต่ำกว่าปกติ เพราะ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงงานย่อยเสถียรอยู่แล้วจึงไม่ต้อง การรับอิเล็กตรอนเพิ่ม

ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน (E0) คือ ความสามารถในการชิงอิเล็กตรอนในรูปสารละลาย ตามหมู่ จะลดจากบนลงล่าง ตามคาบ จะสูงขึ้นจากซ้ายไปขวา

จุดเดือด จุดหลอมเหลว พันธะโลหะ ธาตุที่มีความหนาแน่นมากจุดเดือด จุดหลอมเหลวจะสูงมาก พันธะโคเวเลนต์ (แบบลอนดอน) จุดเดือด จุดหลอมเหลว เพิ่มตามมวลและขนาดโมเลกุล พันธะโคเวเลนต์ (แบบโครงผลึกร่างตาข่าย) จุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมากๆ เพราะทำลายพันธะโคเวเลนต์