ประพจน์ และค่าความจริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
Advertisements

ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
BC320 Introduction to Computer Programming
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
การสร้างจดหมายเวียน (Mail Merge ).
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 2 Operator and Expression
(เฟส 1 ระยะทดลองใช้งาน อรม.อร.)
Use Case Diagram.
การฝึกอบรมการใช้งาน โปรแกรม Microsoft Office Xp.
Lecture 2: Logic Methods of proof.
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
การคิดและการตัดสินใจ
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
1 นายทินวัฒน์ พงษ์ทองเมือง. 2 การเปิดให้ Program ทำงาน 3  p:\xampplite\ xampplite-control.exe  Start Apache.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.03 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
สัจนิรันดร์ ข้อขัดแย้งและข้อความที่สรุปไม่ได้
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
คำสั่งเงื่อนไข (Condition Statement)
CHAPTER 4 Control Statements
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
Recursive Method.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
เราไปกัน เลย. ยังไม่ถูก จ้า ถูกต้อง แล้ว.
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบ้านวังไทร อำเภอปากช่อง สพท.นม. เขต 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
CHAPTER 2 Operators.
สาระการเรียนรู้ที่ ๕ การสร้างตารางค่าความจริง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประพจน์ และค่าความจริง อ.ถนอมศักดิ์ เหล่ากุล สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ องค์การมหาชน

ข้อความทางคณิตศาสตร์ (Proposition) หรือ ประพจน์ (Statement) นิยาม ประพจน์ คือ ประโยคบอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธ ที่เป็นจริง หรือเป็นเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ตัวอย่าง เชียงใหม่อยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย 2+3=4 ทำไมมาตอนนี้ คุณพระช่วย เขาเป็นคนไทย จำนวนนับ x ทุกจำนวน มีสมบัติว่า x> 7

ค่าความจริงของประพจน์ (truth value) ค่าความจริงของประพจน์ คือผลลัพธ์ของประพจน์ที่เราบอกได้ว่า ประพจน์นั้นเป็นจริง (True) เขียนแทนด้วย T หรือประพจน์นั้น เป็นเท็จ (False) เขียนแทนด้วย F สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประพจน์ จะใช้สัญลัษณ์ p, q, r,. . .

ตัวดำเนินการของประพจน์ และค่าความจริงของประพจน์ กำหนดให้ p, q เป็นประพจน์ นิเสธของ p คือข้อความที่มีค่าความจริงตรงข้ามกับ p เขียนแทนด้วย ~p p ~p T F ตัวอย่าง 2) p : 2+3=5 ~p : 1) p : สุนัขมี 4 ขา ~p : สุนัขไม่มี 4 ขา

2. ตัวดำเนินการ “หรือ” [or เขียนแทนด้วย ] (Disjunction Connective) ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด หรือ p q T F

การหาค่าความจริงของประพจน์ผสม ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ p แทน “12-3>0” q แทน “ไก่ทุกตัวไม่มีขา” จงหาค่าความจริงของ

ตัวอย่างที่ 2 กำหนดให้ p, q แทนประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ (F) และ r, s แทนประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง (T) จงหาค่าความจริงของประพจน์ผสม

ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้ p แทนประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง (T) และ q, r, s แทนประพจน์ใด ๆ จงหาค่าความจริงของ

ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าความจริงของประพจน์ย่อยต่อไปนี้ 1. เป็นเท็จ 1. เป็นเท็จ 2. เป็นเท็จ 3. เป็นจริง

ข้อความ/ประพจน์ ที่สมมูลกัน (Logical Equivalence) ประพจน์ที่สมมูลกัน คือประพจน์ที่มีค่าความจริงตรงกัน (เหมือนกัน) ในทุก ๆ กรณี โดยจะเขียน “ ” คั่นระหว่างประพจน์ที่สมมูลกัน เช่น

สัจนิรันดร์ และ Contradition สัจนิรันดร์ (Tautology) คือประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี ข้อตกลง สัจนิรันดร์ เขียนแทนด้วย t Ex Contradition คือประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จทุกกรณี ข้อตกลง Contradition เขียนแทนด้วย f Ex

สมบัติของตัวเชื่อมประพจน์ “หรือ”

2) ให้ p, q, r, s, k, z แทนประพจน์ใด ๆ ตัวอย่าง 1) ให้ p, q แทนประพจน์ใด ๆ 2) ให้ p, q, r, s, k, z แทนประพจน์ใด ๆ

3. ตัวดำเนินการ “และ” [and เขียนแทนด้วย ] (Conjunction Connective) ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด และนกแก้วมี 2 ขา และนกแก้วไม่มี 2 ขา p q T F

พิจารณาจากตารางค่าความจริง ดังนี้ ตัวอย่าง จงพิจารณาค่าความจริงของ และ พิจารณาจากตารางค่าความจริง ดังนี้ p q r T F

จากตารางค่าความจริง จะเห็นว่า และ ให้ค่าความจริงเหมือนกันทั้งหมดทุกกรณี เราจะกล่าวว่าข้อความ สมมูล (equivalent) กับข้อความ เขียนแทนด้วย

ตัวอย่าง กำหนดให้ p, q แทนประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง r, s แทนประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ

ตัวอย่าง กำหนดให้ p, q, r, s แทนประพจน์ใด ๆ และ r แทนประพจน์ ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ

ตัวอย่าง จงหาค่าความจริงของประพจน์ย่อยต่อไปนี้ 1. เป็นจริง 2. เป็นจริง 1. เป็นจริง 2. เป็นจริง 3. เป็นเท็จ

สมบัติของตัวเชื่อมประพจน์ “และ”

ตัวอย่าง

4. ตัวดำเนินการ “ถ้า แล้ว ” [or เขียนแทนด้วย ] p q T F