ธรณีกาล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
Advertisements

โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ENVIRONMENTAL SCIENCE
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
นริศ ภูมิภาคพันธ์ ชวลิต วิทยานนท์
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
หินแปร (Metamorphic rocks)
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ดาวอังคาร (Mars).
ผลกระทบจากวิกฤตการโลกร้อน
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
รูปร่างและรูปทรง.
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
ปฏิบัติการที่ 5 หินตะกอน.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
DNA สำคัญอย่างไร.
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
ลักษณะทางกายภาพของ DTP, DTP- HepB Vaccine ที่บ่งบอกว่าวัคซีนอาจ เสื่อมคุณภาพ ลักษณะปกติ  ส่วนใหญ่ลักษณะ ตะกอนเบาเหมือนวุ้น สีขาว อาจมีตะกอนที่ มีลักษณะค่อนข้าง.
หมีขั้วโลก.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ดินถล่ม.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
ดวงจันทร์ (Moon).
5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan.
โลกและการเปลี่ยนแปลง
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
Facies analysis.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ เสนอ ครู ภัทรศยา เย็นเมือง โดย เด็กหญิง อนุสรา เนตรเจริญ เด็กหญิง ดาวเรือง ดับโศรก เด็กชาย อนุวัฒน์ นูแป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
Lesson 4 Historical geology
บทที่ 3 ธรณีประวัติ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธรณีกาล

ภาพวงจรแสดงอายุของโลก ซึ่งเริ่มตั้งแต่ 4 ภาพวงจรแสดงอายุของโลก ซึ่งเริ่มตั้งแต่ 4.6 พันล้านปีมาแล้ว จนถึงปัจจุบัน

สิ่งที่ต้องรู้ 1. บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) คืออะไร? 2. บรรพชีวิน (Fossil) คืออะไร? 3. ซากดึกดำบรรพ์ดัชนี (Index fossil) คืออะไร? 4. ประโยชน์ของการศึกษาบรรพชีวิน

บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) เป็นวิชาว่าด้วยลักษณะความเป็นอยู่ของสัตว์และพืชในธรณีกาล ตลอดจนร่องรอยต่างๆของสัตว์และพืชนั้นๆ โดยเอาความรู้ทางชีววิทยาปัจจุบันไปเปรียบเทียบกับสภาพซากดึกดำบรรพ์ จัดเป็นแขนงหนึ่งของวิชาธรณีประวัติ

บรรพชีวินหรือซากดึกดำบรรพ์ (Fossil) หมายถึงส่วนหรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่ถูกเก็บรักษาไว้ในหินตามธรรมชาติ ซากและร่องรอยของบรรพชีวินที่ประทับอยู่ในหิน บางแห่งเป็นรอยพิมพ์ (mold) รอยตีนสัตว์ มูลสัตว์ ถ่านหิน (coal) ไม้กลายเป็นหิน (petrified wood) ซากดึกดำบรรพ์พบกระจายในหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ อาจพบเป็นบางชั้นหิน บริเวณที่พบซากดึกดำบรรพ์อาจบ่งบอกสภาพแวดล้อมที่มันตกทับถม

ซากดึกดำบรรพ์ดัชนี (Index fossil) หมายถึงซากดึกดำบรรพ์ที่มีลักษณะพิเศษ เฉพาะในหินบริเวณใดบริเวณหนึ่งสามารถใช้บ่งบอกอายุของชั้นหินนั้นได้ เช่น ฟูซูลินิด (fusulinid) เป็น Index fossil ในหินยุค Permian ลักษณะของซากดึกดำบรรพ์ดัชนี 1. มีช่วงอายุสั้นๆ (narrow or restricted stratigraphic range) 2. มีวิวัฒนาการรวดเร็ว (short-lives) 3. การแพร่กระจายอย่างกว้างขวาง 4. มีรูปร่างง่ายต่อการจำแนก

ประโยชน์ของการศึกษาบรรพชีวิน 1. เป็นข้อมูลเพื่อศึกษาความสัมพันธ์เปรียบเทียบ (geologic correlation) ระหว่าง ชั้นหินในพื้นที่ต่างๆกัน 2. เป็นหลักฐานที่ใช้ศึกษาถึงสภาพแวดล้อมขณะเกิดการตกตะกอนของชั้นหิน และขณะที่บรรพชีวินนั้นๆยังมีชีวิตอยู่ และสามารถใช้ข้อมูลของซากดึกดำบรรพ์ บอกตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ในธรณีวิทยาประวัติของโลกได้ 3. เป็นหลักฐานของสิ่งมีชีวิตในอดีต และแสดงถึงวิวัฒนาการของพืชและสัตว์ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาตั้งแต่เริ่มพบหลักฐานของซากดึกดำบรรพ์ปรากฏในหิน 4. ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานที่ดีอย่างหนึ่งในการศึกษาและหาความสัมพันธ์ ของชั้นหินตะกอน ซึ่งการศึกษาอย่างละเอียดร่วมกับการศึกษาทางธรณีฟิสิกส์ มีความสำคัญต่อการหาแหล่งทรัพยากร เช่นหาแหล่งน้ำมัน ถ่านหิน และแร่ เศรษฐกิจต่างๆ

ลักษณะพิเศษที่ทำให้มีโอกาสสูงในการเกิดซากดึกดำบรรพ์ 1. สิ่งมีชีวิตนั้นจะต้องมีส่วนแข็ง (hard part) 2. อุณหภูมิต้องเย็นจัดหรือแห้งแล้ง เพราะจะทำให้รอดพ้นจากการทำลายของ แบคทีเรีย 3. เมื่อสิ่งมีชีวิตนั้นตายลงจะต้องถูกทับถมโดยตะกอนอย่างรวดเร็วเพื่อหลีกเลี่ยง จากการทำลายของแบคทีเรียและสัตว์อื่น

ชนิดของการถูกเก็บรักษา 1. Unaltered soft part : ถ้าสิ่งมีชีวิตไม่ถูกทำลายโดยแบคทีเรีย พวกส่วนที่เป็นเนื้อ จะถูกเก็บรักษาสภาพไว้ได้ดีเท่าพวกที่มีส่วนแข็ง เช่นซากช้าง mammoth, และแรด (rhinoceros) ที่พบในน้ำแข็งแถบทุนดราในไซบีเรีย 2. Unaltered hard part : สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วนมาก ส่วนที่แข็งจะประกอบจาก calcium carbonate, calcium phosphate, silica, complex organic compounds เป็นต้น 3. Altered hard part : การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลต่อโครงสร้างทางกายภาพ และ/หรือ ส่วน ประกอบทางเคมี อาจมีการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุล มีความแข็งมากขึ้น มีการแทนที่เมื่อ ถูกชะล้างไป กระบวนการที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งได้ดังนี้ 3.1 carbonization 3.2 Permineralization หรือ Petrifaction 3.3 Recrystallization 3.4 Dehydration และ Recrystallization 3.5 Replacement

Trace fossil แบ่งออกเป็นหลายชนิดได้แก่ track, trail, burrow (รูชอนไช), หินตะกอน ซึ่ง Trace fossil จัดเป็น sedimentary structure ชนิดหนึ่งด้วย Trace fossil แบ่งออกเป็นหลายชนิดได้แก่ track, trail, burrow (รูชอนไช), boring (รอยชอนไช), coprolite เป็นต้น

Mold รอยพิมพ์: รอยประทับของซากดึกดำบรรพ์ เช่นเปลือกหอยหรือโครงสร้างอินทรีย์ อื่นๆที่ปรากฏในเนื้อหินที่ซากนั้นฝังตัวอยู่

Cast รูปพิมพ์: หินตะกอนหรือแร่ที่เข้าไปบรรจุอยู่ในรอยเดิมของซากดึกดำบรรพ์ซึ่ง เคยอยู่ในหินนั้น ทำให้มีรูปร่างเหมือนเปลือกหรือโครงร่างของซากดึกดำบรรพ์นั้นๆ

Gastrolith: ก้อนกรวดที่ถูกขับถ่ายออกมาของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง Coprolite มูลสัตว์โบราณ

Radiometric dating Uranium-235 Lead-207 0.704 billion years Parent Daughter Half-life Uranium-235 Lead-207 0.704 billion years Uranium-238 Lead-206 4.47 Potassium-40 Argon-40 1.25 Rubidium-87 Strontium-87 48.8 Samarium- 147 Neodymium 143 106 Thorium-232 Lead-208 14.0 Rhenium- 187 Osmium- 187 43.0 Lutetium- 176 Hafnium- 176 35.9 *Carbon-14 is a method used for young (less than 50,000 year old) sedimentary rocks C 14 halflife = 5730