อิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอม Electron & Atomic Structure อ โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
Originated idea of the atom Democritus (460-370 BC) Originated idea of the atom โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
ดีโมครีตุส (Democritus) เป็นคนแรกที่เสนอทฤษฎีอะตอม 1.สารทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งไม่ สามารถแยกต่อไปได้ อีก เรียกว่า อะตอม และ อะตอมนี้จะไม่มีการสูญหายหรือเกิดขึ้นใหม่ได้ 2.อะตอมของสารทุกชนิดจะเหมือนกันหมดแต่ โครงสร้างการจับตัวของอะตอมของสารแต่ละชนิดจะ ไม่เหมือนกัน ดังนั้นสารต่างชนิดกันจึงมีอะตอม เหมือนกันแต่การจับตัวของอะตอมต่างกันเท่านั้น 3.ที่ว่างระหว่างอะตอม (Void) อะตอมสามารถเคลื่อนที่ ไปมาได้อย่างอิสระในที่ว่างนี้ โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
อริสโตเติล (Aristotle) เป็นผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีอะตอมของดีโมครีตุส ที่กล่าวว่าระหว่างอะตอมจะมีที่ว่าง เขาได้เสนอความคิดเห็นได้ดังนี้ สารทุกชนิดสามารถถูกแบ่งให้เล็กลงไปได้ โดยไม่มีที่สิ้นสุดและธาตุแท้ของสารทั้งหลายมีเพียงสี่อย่างเท่านั้นคือ " ดิน น้ำ ลม ไฟ " เนื่องจากขณะนั้นอริสโตเติลมีคนเลื่อมใสมากจึงทำให้ทฤษฎีอะตอมของดีโมครีตุสซบเซาไปเกือบสองพันปี โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
1803 Dalton’s Atomic Theory โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน (Dalton) 1.สสารประกอบด้วยอะตอมซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่ไม่สามารถแบ่งแยกต่อไปได้ 2.อะตอมของธาตุต่างชนิดกันจะมีลักษณะต่างกัน อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ 3.อะตอมของธาตุชนิดหนึ่งจะเปลี่ยนเป็นอะตอมของธาตุชนิดอื่นไม่ได้ 4. หน่วยย่อยของสารประกอบคือโมเลกุล จะประกอบด้วยอะตอมของธาตุองค์ประกอบในสัดส่วนที่แน่นอน 5. ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ อะตอมจะสูญหาย หรือ เกิดขึ้นใหม่ไม่ได้แต่อะตอมจะเกิดการจัดเรียงตัวกันเป็นโมเลกุลใหม่เกิดเป็นสารประกอบใหม่ขึ้น โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
อิเล็กตรอน (Electron) ในปี ค.ศ.1874 G.J. Stoney ได้อธิบายถึงลักษณะของอนุภาคไฟฟ้าที่อยู่ในสสารโดยกล่าวว่าอนุภาคไฟฟ้าที่อยู่ในสสารนั้นเป็นอนุภาคเล็กๆ และอนุภาคเหล่านั้นอยู่ร่วมกันกับอะตอม Stoney ได้เสนอชื่อของอนุภาคนั้นว่าอิเล็กตรอน(Electron ) แต่นั่นเป็นเพียงการกล่าวถึงอิเล็กตรอนเท่านั้น โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
1879 Cathode rays are negative Crookes (1837-1919) 1879 Cathode rays are negative โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
William Crookes ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์เพื่อจำลองปรากฎการณ์ฟ้าร้อง ฟ้าผ่าประกอบด้วยหลอดแก้วที่บรรจุ gas ความดันต่ำ มีขั้วไฟฟ้าเป็นแผ่นโลหะ(Electrode) 2 ขั้ว ต่อเข้ากับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูง (10,000 -20,000 volte) แผ่นโลหะด้านไฟฟ้าลบเรียกว่า ขั้ว cathode แผ่นโลหะด้านไฟฟ้าบวกเรียกว่า ขั้ว anode และยังได้วางฉากเรืองแสง (ZnS ซิงค์ซัลไฟด์) ขนานไปตามยาวหลอด โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
1897 Discovered the electron (“plum pudding” model) J.J. Thomson (1856-1940) 1897 Discovered the electron (“plum pudding” model) โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
Sir Joseph John Thomson เมื่อนำสนามไฟฟ้าภายนอกมาล่อ จุดสว่างบนฉากเรืองแสงจะเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วบวกเสมอ โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
หลอดรังสีแคโทดของ Thomson ดัดแปลงเพื่อใช้ทำการทดลองหาค่าประจุต่อมวล e / m = 1.759 x 108 คูลอมบ์ต่อกรัม โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
การทดลองของทอมสัน (J.J. Thomson) แสดงการเครื่องมือของทอมสัน โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
1909 Discovered mass of electron Millikan (1868-1953) 1909 Discovered mass of electron โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
เครื่องมือทดลองวัดประจุในหยดน้ำมัน MillikanOil –Drop Experiment ในปี ค.ศ.1909 (R.A. Milikan) ได้ทำการทดลองวัดหาค่าประจุและมวลของ อิเล็กตรอนได้สำเร็จ เครื่องมือที่ใช้ทำการทดลองเป็นกล่องมิดชิด โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
การทดลองเราสามารถส่องดูหยดน้ำมันได้จากกล้องจุลทรรศน์ โดยการมองผ่านกระจกที่กล้อง จากรูปเมื่อหยดน้ำมันหยุดนิ่งแสดงว่าแรงลัพธ์ที่หยดน้ำมันเป็นศูนย์ ทำให้ได้สมการ โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
หลอดรังสีแคโทดของ Eugen Goldstein (การค้นพบ Proton ) การที่อะตอมทุกชนิดมี electron เป็นองค์ประกอบ แต่อะตอมมีคุณสมบัติเป็นกลางทางไฟฟ้า ทำให้นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าจะต้องมีอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกเป็นองค์ประกอบ ในปี ค.ศ. 1889 (พ.ศ. 2429) Eugen Goldstrin นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ดัดแปลงหลอดรังสี cathode โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
รังสีนี้จะเกิดขึ้นพร้อมๆกับ cathode ray เรียกรังสีที่พบใหม่ว่า positive ray หรือ anode ray หรือ canal ray เปลี่ยนชนิดของ gas ในหลอด พบว่าอนุภาคที่มีประจุบวกเหล่านี้มีอัตราส่วนประจุต่อมวลไม่คงที่ และจะขึ้นอยู่กับชนิดของ gas ที่บรรจุในหลอด แต่ถ้าใช้ gas ชนิดเดิมแล้วเปลี่ยนชนิดขั้วโลหะที่ทำ anode พบว่า อัตราส่วนประจุต่อมวลมีค่าคงเดิม Goldstien ได้สรุปผลการทดลองว่า อัตราส่วนประจุต่อมวลขึ้นอยู่กับชนิดของ gas (gas ต่างชนิดกันจะมีมวลต่างกัน) โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
หาค่า e /m ของ hydrogen gas หรือ proton ได้เท่ากับ 9.58 x 104 coulomb/ g e = 1.6 x 10-19 จะได้ค่ามวลproton = 1.66 x 10-24 g เมื่อเปรียบเทียบมวลของproton กับมวลของ electron พบว่ามวลของ protonจะมีค่ามากกว่ามวลของ electron ประมาณ 1800 เท่า โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
1911 Discovered the nucleus (gold foil experiment) Rutherford (1871-1937) 1911 Discovered the nucleus (gold foil experiment) โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
Rutherford’s associate Hans Geiger (1882-1945) Rutherford’s associate โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
Lord Ernest Ruthetford นักวิทยาศาสตร์ชาวนิวซีแลนด์ได้ทำการการศึกษาธรรมชาติของรังสีที่เกิดจากสารกัมมันตรังสี พบว่ามี 3 ชนิด คือ 1. รังสี เอลฟา ( -ray) ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก (+2) เป็นนิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม คือประกอบด้วย Proton 2 ตัว และ Neutron 2 ตัว ( ) อำนาจผ่านทะลุวัตถุได้น้อยมาก ถูกกั้นโดยกระดาษเพียงแผ่นเดียวหรือสองแผ่น 2. รังสีเบตา (-ray) ประกอบด้วยอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูง มีอำนาจการผ่านทะลุสูงกว่ารังสีเเอลฟา ถูกกั้นโดยใช้แผ่นโลหะบางๆ 3. รังสีแกมมา (-ray) แสดงสมบัติเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นมากคล้าย X-ray รังสีแกมมาไม่มีมวลไม่มีประจุ มีอำนาจผ่านทะลุสูง ถูกกั้นได้โดยแผ่นตะกั่วหนา โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
การทดลอง C A B โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
James Chadwick 1932 ในปีค. ศ. 1930 (พ. ศ. 2473) W. Bothe และ H James Chadwick 1932 ในปีค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) W. Bothe และ H. Becker นักเคมีชาวเยอรมันได้ทดลองใช้อนุภาคแอลฟายิงแผ่นโลหะแบริเลี่ยม (Be) ปรากฎว่าเกิดรังสีชนิดหนึ่งที่มีอำนาจทะลุผ่านได้ดี โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
1 2 3 โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
Since opposite charges attract each other, why don’t the electrons fall into the nucleus? โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
Electron ค้นพบ โดย Thomson Proton ค้นพบโดย Glodstien ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นเขียนได้ดังสามการ 9Be + 4He -------> 12C + 1n Electron ค้นพบ โดย Thomson Proton ค้นพบโดย Glodstien Neutron ค้นพบโดย Chadwick โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
12H (ดิวทีเรียม, สัญลักษณ์ D) 13H (ทริเทียม, สัญลักษณ์ T) ไอโซโทป คือธาตุที่มีเลขอะตอมเหมือนกัน แต่มีเลขมวลต่างกัน หรือธาตุที่มีจำนวน Proton เท่ากัน แต่มีจำนวน neutron ต่างกัน 11H (โปรเทียม, สัญลักษณ์ H) 12H (ดิวทีเรียม, สัญลักษณ์ D) 13H (ทริเทียม, สัญลักษณ์ T) H2O D2O (heavy water) T2O โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
การหาไอโซโทป จะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Mass spectrometer แผนผังแสดงหลักการของ เครื่อง Mass Spectrometer โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
1913 proposed Planetary model Niels Bohr (1885-1962) 1913 proposed Planetary model โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ
Based upon the work of several men, a new model was developed Louis de Broglie (1892-1987) Werner Heisenberg (1901-1976) Erwin Schrodinger (1887-1961) 1926 quantum-mechanical model โครงสร้างอะตอม ชุดที่1 อ.ศราวุทธ